1 / 13

ทฤษฎีบท 1.2 สำหรับจำนวนเต็ม a, b, c ใด ๆ จะได้ว่า  1. ถ้า a น 0 แล้ว  a|0 , a|a 

บทนิยาม1.1 ให้ m, n น 0 เป็นจำนวนเต็ม n หาร m ลงตัวก็ต่อเมื่อ มี c ฮ Z ซึ่ง m = nc เรียก n ว่า ตัวหาร (divisor) ตัวหนึ่งของ m ใช้ n|m แทน " n หาร m ลงตัว ". ทฤษฎีบท 1.2 สำหรับจำนวนเต็ม a, b, c ใด ๆ จะได้ว่า  1. ถ้า a น 0 แล้ว  a|0 , a|a 

anthea
Download Presentation

ทฤษฎีบท 1.2 สำหรับจำนวนเต็ม a, b, c ใด ๆ จะได้ว่า  1. ถ้า a น 0 แล้ว  a|0 , a|a 

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทนิยาม1.1 ให้ m, n น 0 เป็นจำนวนเต็ม n หาร m ลงตัวก็ต่อเมื่อ มี c ฮ Z ซึ่ง m = nc เรียก n ว่า ตัวหาร (divisor) ตัวหนึ่งของ m ใช้ n|m แทน " n หาร m ลงตัว " ทฤษฎีบท 1.2 สำหรับจำนวนเต็ม a, b, c ใด ๆ จะได้ว่า  1. ถ้า a น 0 แล้ว  a|0 , a|a  2.  a|1 ก็ต่อเมื่อ a = 1 หรือ -1  3. ถ้า a |b และ c|d แล้ว ac | bd  4. ถ้า a|b และ b|c แล้ว a|c 5.  ถ้า a|b  แล้ว a|bc 6. ถ้า a|b  ก็ต่อเมื่อ  ac|bc    ทุก  c น 0 7.  ถ้า a |b และ  b น 0 แล้ว  |a| ฃ |b| 8.  ถ้า a | b และ a|c แล้ว a | (bx +cy)  ทุกจำนวนเต็ม x, y

  2. ทฤษฎีบท 1.3 ขั้นตอนวิธีการหาร(Division Algorithm) ให้ m, n ฮ Z , n น 0 จะมีจำนวนเต็ม q , r ชุดเดียว ซึ่ง m = nq + r โดย 0 ฃ r < | n | เรียก q ว่า ผลหาร (the quotient) และ r ว่า เศษ (the remainder) ตัวอย่าง บทนิยาม1.4 ให้ a,b ฮ Z-{0} จะได้ว่า d ฮ Z+ จะเป็น ตัวหารร่วมมาก ( ห.ร.ม.) ของ a, b ก็ต่อเมื่อ 1. d | a และ d |b และ 2. ถ้า c ฮ Z ซึ่ง c|a และ c|b แล้ว c|d แทน ห.ร.ม. ที่เป็นบวกของ a,b ด้วย gcd(a,b) บทนิยาม 1.5 ให้ a ,b ฮ Z-{0} จะกล่าวว่า a และ b เป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์(relatively prime) ก็ต่อเมื่อ gcd(a,b) = 1 ทฤษฎีบท 1.6 ให้ a,bฮ Z-{0} และ d = gcd(a,b) ดังนั้นจะ มีจำนวนเต็ม m,n ซึ่งทำให้ ma + nb = d ทฤษฎีบท 1.7 ให้ a,bฮ Z-{0} จะได้ว่า gcd(a,b) = 1 ก็ต่อเมื่อ มีจำนวนเต็ม m,n ซึ่งทำให้ ma + nb = 1

  3. ทฤษฎีบท 1.8 ถ้า d = gcd(m,n) และ m = Md, n = Nd จะได้ 1 = gcd(M,N) ทฤษฎีบท1.9 (Euclid ‘ s Lemma ) ถ้า a | bc และ gcd(a,b) = 1 แล้ว a | c ทฤษฎีบท 1.10 ให้ a , b ฮ Z-{0} และ kเป็นจำนวนเต็มใด ๆ แล้ว gcd (a,b) = gcd (a,b+ka ) ทฤษฎีบท 1.11 ให้ a , b ฮ Z-{0} จะได้ว่า ถ้า a = bq+r แล้ว gcd (a,b) = gcd ( b , r ) ตัวอย่าง บทนิยาม 1.12 จำนวนเต็ม p น 0 จะเป็นจำนวนเฉพาะ ก็ต่อเมื่อ p น 1 , p น -1 และถ้า x ฮ Z ซึ่ง x | p แล้ว x ฮ { 1, -1, p, -p } ทฤษฎีบท 1.13  m,n ฮ Z และ p เป็นจำนวนเฉพาะ ถ้า p|mn แล้ว p|m หรือ p|n ทฤษฎีบท 1.14 ( หลักการมีตัวประกอบชุดเดียว) ทุกจำนวนเต็ม n > 1 จะสามารถแยกตัวประกอบเฉพาะ ดังต่อไปนี้ได้รูปเดียว n = p1c1p2c2p3c3...pkck ซึ่ง p1<p2<p3<...<pk และทุกตัวเป็นจำนวนเฉพาะ

  4. บทนิยาม 1.15 ให้ a , b ฮ Z-{0} , c ฮ Z+ จะเป็น ตัวคูณร่วมน้อย ( ค.ร.น.) ของ a, b ก็ต่อเมื่อ 1. a|c และ b|c และ 2. ถ้า d ฮ Z ซึ่ง a|d และ b|d แล้ว c|d แทน ค.ร.น. ที่เป็นบวกของ a, b ด้วย lcm[a,b] ทฤษฎีบท 1.16  ถ้า d = gcd (m,n) และ c = lcm[m,n] แล้ว dc = mn

  5. ต่อไปจะแสดงว่า r < b

  6. ทฤษฎีบท 1.6 ให้ a,bฮ Z-{0} และ d = gcd(a,b) ดังนั้นจะ มีจำนวนเต็ม m,n ซึ่งทำให้ ma + nb = d ต่อไปจะแสดงว่า c คือ d

  7. ทฤษฎีบท 1.7 ให้ a,bฮ Z-{0} จะได้ว่า gcd(a,b) = 1 ก็ต่อเมื่อ มีจำนวนเต็ม m,n ซึ่งทำให้ ma + nb = 1 พิสูจน์ (->) สมมติว่า gcd(a,b)= 1 โดยทฤษฎีบท1.6 จะได้ว่ามีจำนวนเต็ม x และ y ซึ่ง 1 = ax + by (<- ) สมมติว่ามีจำนวนเต็ม x,y ซึ่ง 1 = ax+ by ให้ d = gcd(a,b) ดังนั้น d | a และ d | b โดยทฤษฎีบท จะได้ว่า d | (ax + by) นั้นคือ d | 1 เนื่องจาก d เป็นจำนวนเต็มบวก จึงได้ว่า d = 1 นั้นคือ gcd(a,b) = 1

  8. วิธีทำ 1) เนื่องจาก 1024 =(364)(2) + 296 364 = (296)(1) + 68 296 = (68)(4) + 24 68 = (24)(2) + 20 24 = (20)(1) + 4 20 = (4)(5) ดังนั้น gcd(1024,364) = 4 ตัวอย่าง จงหา 1) gcd(1024, 364) 2) จำนวนเต็ม m และ n ซึ่ง gcd(1024, 364)= 1024m + 364n • 2) จากข้อ (1) จะได้ว่า 4 = 24 – (20)(1) • = 24 – [68 – (24)(2)](1) • = (24)(3) – (68)(1) • = [296-(68)(4)](3) – (68)(1) • = (296)(3) – (68)(13) • = (296)(3) – (364 – 296)(13) • = (296)(16) – (364)(13) • = [1024 – (364)(2)](16) – (364)(13) • = (1024)(16) + (364)(-45) • ดังนั้น m = 16 และ n = -45

  9. การบ้าน จงหา 1. จำนวนเต็ม m และ n ซึ่ง gcd(414, 662) = 414m + 662n 2. จำนวนเต็ม m และ n ซึ่ง gcd(1300, 908)= 1300m + 908n 3. จำนวนเต็ม m และ n ซึ่ง gcd(1529, 14038)= 1529m + 14038n

More Related