1 / 113

ศศ. 301 ทฤษฎีเศรษฐศาตร์จุลภาค

ศศ. 301 ทฤษฎีเศรษฐศาตร์จุลภาค. ( E C 301 MICROECONOMIC THEORY ). คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ. คณะผู้จัดทำ. นายกฤษฎา หริกจันทร์ นายกระสินธุ์ บุญยวง นายยอดรัก ผุสดี นายสามารถ ศรีมูล อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ศุภโชค โกยดุลย์. คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ. บทที่ 1 . บทนำ.

anstice
Download Presentation

ศศ. 301 ทฤษฎีเศรษฐศาตร์จุลภาค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ศศ. 301ทฤษฎีเศรษฐศาตร์จุลภาค ( EC 301 MICROECONOMIC THEORY ) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ

  2. คณะผู้จัดทำ นายกฤษฎา หริกจันทร์ นายกระสินธุ์ บุญยวง นายยอดรัก ผุสดี นายสามารถ ศรีมูล อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ศุภโชค โกยดุลย์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ

  3. บทที่ 1 บทนำ

  4. 1) เศรษฐศาสตร์จุลภาค เป็นการศึกษาถึงระบบเศรษฐกิจโดยส่วนย่อย 1.1 ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ 2) เศรษฐศาสตร์มหภาค เป็นการศึกษาถึงระบบเศรษฐกิจมวลรวมของ ประเทศ โดยสรุปการศึกษาเศรษฐศาสตร์จุลภาคจะมุ่งเน้นให้ความสนใจประเด็นของประสิทธิภาพของผู้บริโภคหรือผู้ผลิต ตลอดจนเศรษฐศาสตร์สวัสดิการ (Welfare Economics) แต่เศรษฐศาสตร์มหภาคจะมุ่งเน้นศึกษาถึงประเด็นของการเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจ (growth in economy system) อย่างใดจึงจะมีเสถียรภาพ (Stability)

  5. 1.2 รูปแบบของการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ 1.2.1 เศรษฐศาสตร์ที่เป็นจริง (Positive Economics) 1.2.2 เศรษฐศาสตร์ที่ควรจะเป็น (Normative Economics) 1.2.3 การวิเคราะห์สภาพสถิตย์ (Static Analysis ) 1.2.4 การวิเคราะห์สภาพสถิตเปรียบเทียบ (Comparative Static Analysis)

  6. 1.2.5 การวิเคราะห์สภาพพลวัต (Dynamic Analysis) 1.2.6 การวิเคราะห์แบบดุลยภาพเฉพาะส่วน (Partial Equilibrium Analysis) • 1.2.7 การวิเคราะห์แบบดุลยภาพทั่วไป • (General Equilibrium Analysis )

  7. 1.3 สมมติฐาน ทฤษฎี กฎ และแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ • 1.3.1 สมมติฐาน (Hypothesis หรือ Assumption) • 1.3.2 ทฤษฎี (Theory ) • 1.3.3 กฎ (Law ) • 1.3.4 แบบจำลอง (Model)

  8. รูปที่ 1.1 กระบวนการสร้างแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ สภาพความ เป็นจริง แบบจำลองทาง เศรษฐศาสตร์ ข้อสรุป • 1.4 การสร้างแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ • 1.4.1 กระบวนการการสร้างแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์

  9. ขั้นตอนการสร้างแบบจำลอง ขั้นตอนแรก เลือกตัวแปรอิสระที่มีความสัมพันธ์และมีความสำคัญมากที่สุดต่อตัวแปรตามก่อน แล้วค่อยพิจารณาหาสาเหตุอื่นๆ ที่คิดว่ามีความสำคัญและผลต่อตัวแปรตามรองลงมาพิจารณา ขั้นตอนที่สอง นำหลักเหตุและผลเข้ามาพิจารณาเพื่อใช้หาแบบจำลองที่เหมาะสมโดยใช้หลักเหตุและผลที่เราจะนำมาช่วยในการสร้างแบบจำลองมี 2 วิธีคือ

  10. 1) วิธีอนุมาน (Deductive Method) วิธีนี้จะเป็นการหาผลจากเหตุโดยการพยายามศึกษาหาว่าเหตุต่างๆ มีส่วนทำให้เกิดผลนั้นๆมีอะไรบ้างไร แล้วนำมาตั้งสมมติฐานถึงความสัมพันธ์ตามที่ต้องการศึกษา 2) วิธีอุปมาน (Inductive Method) วิธีนี้จะเป็นการศึกษาการหาเหตุจากผล โดยการพยายามศึกษาว่า ผลที่เกิดขึ้นนั้น จะเกิดขึ้นเนื่องจากสาเหตุอะไร

  11. ขั้นตอนสุดท้าย คือ ข้อสรุปหลังจากที่ได้ศึกษาสภาพความเป็นจริงที่จะศึกษาแล้วนำมาหาความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุ (ตัวแปรอิสระ) กับผลที่เกิดขึ้น (ตัวแปรตาม) ว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร(เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกันหรือตรงกันข้าม) การอธิบายของตัวแปรอิสระต่อตัวแปรตาม อธิบายได้มากน้อยเพียงใด โดยเมื่อเราทราบค่าต่างๆดังที่กล่าวมาแล้ว เราก็พอจะสรุปได้ว่า แบบจำลอง (Model) ที่เราสร้างขึ้นมาสามารถนำไปใช้จริง หรือพยากรณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตตามที่ต้องการทราบ ได้ดีเพียงใด ซึ่งอาจนำไปสู่การสร้างทฤษฎีในที่สุด

  12. 1.4.2 ตัวแปรทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึงตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับแบบจำลองที่ทำการศึกษา โดยตัวแปรที่เกี่ยวข้องกันนั้นแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือตัวแปรตาม(Dependent Variable)หรือตัวแปรที่เป็นผล กับตัวแปรนำ(Independent Variable)หรือตัวแปรอิสระ • 1.4.3 ข้อสมมติทางเศรษฐศาสตร์ การกำหนดข้อสมมติทางเศรษฐศาสตร์ จะช่วยให้สามารถจำกัดการพิจารณาในเรื่องต่างๆ ให้แคบลงโดยที่เราจะพยายามเลือกศึกษาแต่เฉพาะปัจจัยที่มีความสำคัญและมีผลอย่างมากต่อตัวแปรตาม เพื่อให้ได้ข้อสรุป หรือทฤษฎีที่มีความสอดคล้องกับความเป็นจริงมากยิ่งขึ้น

  13. โดยทั่วไปในการศึกษาแบบจำลองทางจุลเศรษฐศาสตร์มักปรากฏข้อสมมติฐานที่ใหญ่ๆ อยู่ 2 ประการคือ ประการที่ 1 สิ่งอื่น ๆ นอกเหนือจากสิ่งที่เรากำลังพิจารณาอยู่จะถูกกำหนดให้คงที่ ประการที่ 2 ข้อสมมติอีกประการหนึ่งที่สำคัญเช่นกันก็คือ มนุษย์จะต้องเป็นคนมีเหตุผล (economic man) ฉะนั้นมนุษย์จึงต้องพยายามทำให้ตนได้รับผลประโยชน์สูงสุดจากเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้

  14. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 • 1) จงอธิบายความหมายและความแตกต่างกันระหว่าง • 1.1 เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) กับ • เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) • 1.2 เศรษฐศาสตร์ที่เป็นจริง(Positive Economics) กับ • เศรษฐศาสตร์ที่ควรจะเป็น (NormativeEconomics) • 1.3 การวิเคราะห์สภาพสถิต (Static Analysis) กับ • การวิเคราะห์สภาพพลวัต (Dynamic Analysis) • 1.4 การวิเคราะห์ดุลยภาพแบบเฉพาะส่วน (Partial • Equilibrium Analysis) กับดุลยภาพทั่วไป (General Equilibrium Analysis)

  15. 1.5 สมมติฐาน (Hypothesis หรือ Assumption), • ทฤษฎี(Theory), กฎ (Law)และ แบบจำลอง (Model) • 1.6 วิธีอนุมาน (DeductiveMethod) กับ อุปมาน(Inductive Method) • 1.7 ตัวแปรภายใน (Endogenous Variable) กับตัวแปร ภายนอก (Exogenous Variable) 2) จงอธิบายถึงประโยชน์และการสร้างแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์

  16. บทที่ 2 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค

  17. 2.1 แนวคิดพื้นฐาน • 2.1.1 ฟังก์ชันอรรถประโยชน์ อรรถประโยชน์ ( Utility)แบ่งออกเป็นใหญ่ ๆ ได้2 ชนิดคือ 1) อรรถประโยชน์เป็นหน่วยที่วัดได้ ( Cardinal Utility) 2) อรรถประโยชน์เป็นหน่วยที่วัดไม่ได้ ( Ordinal Utility) • 2.1.2 ทฤษฎีเส้นแห่งความพอใจเท่ากัน

  18. รูปที่ 2.1 แสดงจุดดุลยภาพ ( จุด A, B, และ C) ของผู้บริโภค ณ ระดับรายได้ต่าง ๆ กัน สินค้า y  C IC3  B IC2  A IC1 สินค้า x 0

  19. วิเคราะห์ด้วยเส้นแห่งความพอใจเท่ากันวิเคราะห์ด้วยเส้นแห่งความพอใจเท่ากัน รายได้ รูปที่ 2.4 แสดงถึงส่วนเกินของผู้บริโภค เมื่อวิเคราะห์ด้วยเส้น IC M A M3 IC2 B M2 IC1 C M1 สินค้า y 0 y1 y2 M • 2.2 การวิเคราะห์ส่วนเกินของผู้บริโภค • ( Consumer’ s Surplus Analysis)

  20. รูปที่ 2.5 แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของ quantity demanded เมื่อราคาเปลี่ยนแปลง Px P2 P1 D Q2 Q1 Qx • 2.3 ฟังก์ชันอุปสงค์ (Demand Function) • 2.3 ฟังก์ชันอุปสงค์ (Demand Function) 2.3.1 แนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีอุปสงค์ 2.3.1 แนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีอุปสงค์ 1) การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค์ (Changes in quantity demanded)

  21. P D D1 D2 P1 • รูปที่ 2.6 แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของ demand เนื่องจากปัจจัยอื่นที่ไม่ใช่ราคาเปลี่ยน Q1 Q2 Q3 Q • 2) การเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์ (Changes in demand)

  22. P D1 D2 D3 P1 Q1 Q2 Q3 Q รูปที่ 2.7 เมื่อสินค้าเป็นสินค้าคุณภาพดี (Superior Goods) P D4 D5 D6 P2 Q4 Q5 Q6 Q รูปที่ 2.8 เมื่อสินค้าเป็นสินค้าด้อยคุณภาพ(Inferior) Goods) • นอกจากราคาจะมีผลต่อความต้องการจะซื้อแล้วการเปลี่ยนแปลงรายได้ของผู้บริโภค ทำให้อุปสงค์ของสินค้าและบริการเปลี่ยนแปลงได้ (ราคาคงที่) ดังรูปที่ 2.7 และ 2.8

  23. Py Py Py2 Py2 Py1 Py1 D 0 Qx2 Qx1 Qx Qx2 Qx1 Qx D สรุป ในกรณีที่สินค้า X และสินค้า Y มีความสัมพันธ์ต่อกัน ใช้ทดแทนกัน ใช้รวมกัน

  24. 2.3.2 การสร้างเส้นอุปสงค์ส่วนบุคคล และเส้นอุปสงค์ตลาด 1) การสร้างเส้นอุปสงค์ส่วนบุคคล สามารถสร้างได้ดังนี้ 1.1) การสร้างเส้นอุปสงค์ส่วนบุคคลจากทฤษฎีอรรถประโยชน์

  25. ราคาPA(บาท / หน่วย) X PA2 รูปที่ 2.13 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการจะซื้อสินค้า A กับราคา PA Y PA1 D ปริมาณสินค้า A (หน่วย) A2 A1

  26. ปริมาณสินค้า B M/PB1 PCC (PRICE CONSUMPTION CURVE) B2 X Y B1 IC2 IC1 ปริมาณสินค้า A 0 A2 A1 M/PA2 M/PA1 PA PA2 PA1 D 0 ปริมาณ (หน่วย) A2 A1 รูปที่ 2.14 แสดงการหาเส้นอุปสงค์ส่วนบุคคลโดยเส้น IC 1.2) การสร้างเส้นอุปสงค์ส่วนบุคคลจากทฤษฎีเส้นแห่งความพอใจเท่ากัน

  27. 2) การสร้างอุปสงค์ของตลาด การสร้างเส้นอุปสงค์ของตลาด (Market demand curve) สามารถทำได้โดยรวมเส้นอุปสงค์ส่วนบุคคลสำหรับ(Individual demand) สินค้า ชนิดใด ชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคต้องการ และสามารถซื้อได้ ณ ระดับราคาเดียวกัน โดยไม่คำนึงว่าผู้บริโภคจะอยู่ที่ใด 2.3.3อุปสงค์ส่วนบุคคล • 2.3.4 แนวคิดว่าด้วยความยืดหยุ่นของอุปสงค์ • 1. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา ( price Elasticity of Demand) • 2. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity of Demand)

  28. 3) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่นหรือความยืดหยุ่นไขว้ • (cross elasticity of demand) 1) ถ้าค่าของ EC < 0 แสดงว่าสินค้า X และสินค้า Y เป็นสินค้าที่ใช้ร่วมกันหรือใช้ ประกอบกัน (Complementary Goods) 2) ถ้าค่าของ EC > 0 แสดงว่าสินค้าX และสินค้า Y เป็นสินค้าที่ใช้ทดแทนกัน(Substitution Goods) 3) ถ้าค่าของ EC = 0 แสดงว่าสินค้า X และสินค้า Y ไม่มีความสัมพันธ์กัน (Nonrelated Goods)

  29. ปริมาณสินค้า B (QB) M1 PB1 T = Price หรือ Total Effect S = Substitution Effect I = Income Effect T  = S  + I  M2 PB1 E1 E2 IC2 E IC1 S I T ปริมาณสินค้า A (QA) M1 PA2 A1 M1 PA1 A M2 PA2 A2 รูปที่ 2.2 ผลด้านการทดแทนและผลด้านรายได้กรณีของ J.R.Hicks 2.4 ผลแห่งการทดแทนและผลแห่งรายได้อันเนื่องมาจากราคาเปลี่ยนแปลง 2.4.1 การวิเคราะห์ด้วยวิธีของ Hicks

  30. กรณีที่เป็นสินค้า Inferior ปริมาณสินค้า B (QB) M1 PB1 T = Price หรือ Total Effect S = Substitution Effect I = Income Effect T  = S  + I  (  S > I ) E2 M2 PB1 IC2 E1 E IC1 T I S ปริมาณสินค้า A (QA) A M1 PA2 A1 A2 M1 PA1 M2 PA2 รูปที่ 2.3ผลด้านการทดแทนและผลด้านรายได้กรณีของ J.R.Hicks

  31. ปริมาณสินค้า A (QA) T = Price หรือ Total Effect S = Substitution Effect I = Income Effect T  = S  + I  M2 PA1 M1 PA1 E IC2 E2 E1 IC1 A1 T IC3 I S ปริมาณสินค้า B (QB) M1 PB2 M2 PB2 M1 PB1 B1 B2 B รูปที่ 2.4ผลด้านการทดแทนและผลด้านรายได้กรณีของ Eugen Slutsky 2.4.2 การวิเคราะห์ตามคิดของอูเก้น สลัทสกี้ (Eugen Slutsky)

  32. ปริมาณสินค้า A (QA) T = Price หรือ Total Effect S = Substitution Effect I = Income Effect T  = S  + I  ( S > I) M2 PA1 E M1 PA1 IC3 E1 E2 IC1 IC2 T I S M1 PB2 M2 PB2 M1 PB1 B B1 B2 รูปที่ 2.5ผลด้านการทดแทนและผลด้านรายได้กรณีของ Eugen Slutsky กรณีที่สินค้า B เป็น Inferior Goods

  33. บทที่ 3 ทฤษฎีการผลิตและต้นทุนการผลิต

  34. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการผลิตและต้นทุนการผลิตความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการผลิตและต้นทุนการผลิต ฟังก์ชันการผลิตของหน่วยธุรกิจ ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณปัจจัยการผลิตที่ใช้กับผลผลิตที่ได้ Q = (X1 , X2 , X3 , ………. , Xn) • * การผลิตโดยใช้ปัจจัยแปรผันชนิดเดียว

  35. กำหนดให้ เทคนิคการผลิตคงที่ TP MP AP TP= เพิ่มในอัตราลด Law of Diminishing marginal Physical Return I II III หน่วยงานต่าง ๆหลายหน่วยงาน ของไทย ผลิตใน Stage ที่สามจึงมีประสิทธิภาพต่ำ เพราะมี L มากเกินไป AP=MP  AP (L) ปริมาณปัจจัยแปรผัน L2 L1 MP รูปที่ 3.1

  36. K1 A K B K2 L C K3 IQ = 100 ปัจจัย L L1 L2 L3 • * การผลิตโดยใช้ปัจจัย 2 ชนิด รูปที่ 3.2

  37. 1) แนวคิดเกี่ยวกับฟังก์ชันการผลิต • ฟังก์ชันการผลิตในระยะสั้นและในระยะยาว • Q = f (X1,X2,…………..,Xn) ฟังก์ชันการผลิตที่ใช้กันมากในการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ได้แก่ ฟังก์ชันค็อบ-ดักลัส (Cobb-Douglas Function) ซึ่งเป็นฟังก์ชันเอกพันธ์องศา 1 (Homogeneous function of degree 1) รูปแบบของฟังก์ชัน Cobb-Douglas ที่ใช้ปัจจัยการผลิต 2 ชนิด คือ Q =b L K

  38. 2) แนวคิดเกี่ยวกับต้นทุนการผลิต ต้นทุนการผลิต (Cost of Production) หรือต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์(Economic Cost) แตกต่างจากต้นทุนทางบัญชี (Explicit Cost) หรือต้นทุนแจ้งชัดซึ่งต้องใช้จ่ายเป็นตัวเงินจริงๆ เพราะ ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ต้องรวมต้นทุนไม่แจ้งชัด (Implicit Cost) หรือต้นทุนกำบังหรือต้นทุนเสียโอกาส (Opportunity Cost) เข้าด้วยกับต้นทุนทางบัญชี (Explicit Cost) ต้นทุนทางบัญชี (Accounting Cost) = Explicit Cost ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Cost)= Explicit Cost + Implicit Cost โดยทั่วไป Economic Cost > Accounting Cost เพราะฉะนั้น กำไรทางบัญชีจึงมีค่ามากกว่ากำไรทางเศรษฐ ศาสตร์

  39. K R F E D C B IQ6 IQ5 A IQ4 IQ3 IQ2 IQ1 L E 3) กฎผลได้ต่อขนาด (Law of Returns to scale) รูปที่ 3.3

  40. บทที่ 4 ทฤษฎีว่าด้วยการกำหนดราคาในตลาด ที่มีการแข่งขันสมบูรณ์

  41. 4.1 ความหมายและโครงสร้างของตลาด การแบ่งตลาดนั้นแยกออกเป็นได้หลายลักษณะขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่งเช่น - ตลาดสินค้า (Product Market) - ตลาดปัจจัยการผลิต (Factors of Production market) - ตลาดแรงงาน (Labor Market) - ตลาดการเงิน (Financial Market)

  42. 4.1.1 แบ่งโครงสร้างของตลาดตามจำนวนผู้ขาย โดยสมมติให้มีผู้ซื้อ เป็นจำนวนมากได้ดังนี้ 1. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Perfect Competition Market) 2. ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition) 3. ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly) 4. ตลาดผูกขาด (Monopoly)

  43. 4.1.2 แบ่งโครงสร้างของตลาดตามจำนวนผู้ซื้อ โดยสมมติให้มีผู้ขาย เป็นจำนวนมากได้ดังนี้ 1. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Perfect Competition Market) 2. ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopsonistic Competition) 3. ตลาดผู้ซื้อน้อยราย (Oligopsony) 4. ตลาดผู้ซื้อคนเดียว (Monopsony)

  44. 4.2 ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์ • มีผู้ซื้อและผู้ขายมากราย (Large number of buyers and • sellers) • สินค้ามีลักษณะเหมือนกันทุกประการ (Homogeneous • Product) • ไม่มีการรวมหัวกันในตลาดหรือการแทรกแซงจากรัฐ • (Absence of collusion or artificial restraint) • ผู้ซื้อและผู้ขายทุกคนต่างก็มีความรอบรู้ในข่าวสารของตลาด • อย่างสมบูรณ์ (Perfect Knowledge) • ไม่มีข้อจำกัดในการเข้าหรือออกจากการแข่งขัน (Free entry) • การเคลื่อนย้ายสินค้าและปัจจัยการผลิตเป็นไปได้อย่างสมบูรณ์ • (Perfect mobility of resource)

  45. 4.3 เส้นอุปสงค์ เส้นรายรับเฉลี่ย เส้นรายรับหน่วยสุดท้ายและเส้นรายรับทั้งหมด 4.4 ดุลยภาพที่มีเสถียรภาพ (Stable Equilibrium) และดุลยภาพที่ไม่มี เสถียรภาพ (Unstable Equilibrium) ดุลยภาพที่มีเสถียรภาพ (Stable Equilibrium) คือ ดุลยภาพที่เมื่อเกิดขึ้นแล้วมีความโน้มเอียงจะคงที่อยู่ ณ จุดเดิมตลอดไปตราบเท่าที่เส้นอุปสงค์หรืออุปทานของตลาดไม่เปลี่ยนแปลง ดุลยภาพที่ไม่มีเสถียรภาพ (Unstable Equilibrium) หมายถึง สภาพดุลยภาพซึ่งเมื่อเกิดขึ้นแล้วจะคงอยู่ได้เพียงชั่วระยะเวลาที่ยังไม่มีอะไรมากระทบแต่ถ้ามีสิ่งใดมากระทบ จุดดุลยภาพดังกล่าวไม่ว่าจะเป็นราคาหรือปริมาณก็จะเคลื่อนตัวออกจากจุดดุลยภาพและจะไม่กลับเข้าสู่จุดดุลยภาพ ณ จุดเดิมอีกเลย

  46. แนวคิดของ วอลรัส (Walras) พิจารณาว่าดุลยภาพที่เกิดขึ้นเป็นดุลยภาพที่มีเสถียรภาพหรือไม่มีเสถียรภาพโดยพิจารณาดูจากค่า QD และ QS โดยจะหาค่าของ Excess Demand ได้โดยมีหลักว่า ผู้ซื้อมีแนวโน้มที่จะเสนอราคาซื้อที่สูงขึ้นถ้า E.D. มีค่าเป็น + และผู้ซื้อมีแนวโน้มที่จะเสนอราคาซื้อที่ลดลง ถ้า E.D. มีค่าเป็น – โดยที่ ณ ระดับราคาเดียวกันแล้วพิจารณาดูค่า QD และ QS ถ้า QD > QS E.D. มีค่าเป็น + QD < QS E.D. มีค่าเป็น -

  47. แนวคิดของมาร์แชล (Marshall) เมื่อจะพิจารณาดูดุลยภาพที่เกิดขึ้นว่า เป็นดุลยภาพที่มีเสถียรภาพหรือไม่ โดยพิจารณาดูจากค่าของ PD และ PS โดยจะหาค่าของ E.D.P (Excess Demand Price) โดยมีหลักว่า ผู้ขายมีแนวโน้ม จะผลิตสินค้าเพิ่มขึ้น ถ้า E.D.P. (Excess Demand Price) มีค่าเป็น + ผู้ขายมีแนวโน้ม จะผลิตสินค้าลดลง ถ้า E.D.P. (Excess Demand Price) มีค่าเป็น -

  48. ราคา (P) ราคา (P) S P1 E P1 0 0 ปริมาณสินค้า (Q) ระยะเวลา (t) 4.5 การวิเคราะห์สภาพพลวัตของดุลยภาพกับทฤษฎีใยแมงมุม • ในกรณีที่เส้นอุปทานมีความชันน้อยกว่าเส้นอุปสงค์ (Slope S < Slope D)

More Related