2.31k likes | 2.78k Views
ยินดีต้อนรับ. เภสัชกรหญิงวีรวรรณ แตงแก้ว ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขต 9 นายแพทย์ธำรงค์ สมบุญตนนท์ สาธารณสุขนิเทศก์ เขต 9 และคณะ ด้วยความยินดียิ่ง. 8 อำเภอ 58 ตำบล/4 39 หมู่บ้าน/ 25 เทศบาล/ 42 อบต. ปลวกแดง. วังจันทร์. นิคมพัฒนา. บ้านค่าย. แกลง. บ้านฉาง. เมือง. อ่าวไทย.
E N D
ยินดีต้อนรับ เภสัชกรหญิงวีรวรรณ แตงแก้ว ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขต 9 นายแพทย์ธำรงค์ สมบุญตนนท์ สาธารณสุขนิเทศก์ เขต 9 และคณะ ด้วยความยินดียิ่ง
8 อำเภอ 58 ตำบล/439 หมู่บ้าน/25 เทศบาล/ 42 อบต. ปลวกแดง วังจันทร์ นิคมพัฒนา บ้านค่าย แกลง บ้านฉาง เมือง อ่าวไทย จังหวัดระยอง เขาชะเมา เขาชะเมา
โรงพยาบาลรัฐ รพศ. 555 เตียง 1 แห่ง รพช. 120 เตียง 2 แห่ง รพช. 30 เตียง 6 แห่ง รพ.เขาชะเมา รพ.วังจันทร์ รพ.ปลวกแดง รพ.นิคมพัฒนา รพ.บ้านค่าย รพ.แกลง รพ.มาบตาพุด รพ.บ้านฉาง รพ.ระยอง อ่าวไทย
โรงพยาบาลเอกชน 3 แห่ง อ.เมือง รพ.มงกุฎระยอง รพ.รวมแพทย์ รพ.กรุงเทพระยอง
ระดับสถานบริการสุขภาพตาม GIS ทุติยภูมิระดับต้น ทุติยภูมิระดับกลาง ทุติยภูมิระดับสูง ตติยภูมิ รพ.ปลวกแดง รพ.เขาชะเมา รพ.วังจันทร์ รพ.นิคมพัฒนา รพ.บ้านค่าย รพ.มาบตาพุด รพ.แกลง รพ.บ้านฉาง รพ.ระยอง
โครงสร้างอายุประชากร ประชากรกลางปี 53 : 619,073 คน
อัตราการเข้ารับบริการของประชาชน 5 กลุ่มโรคแรก จังหวัดระยอง ที่มา : รง.504
อัตราป่วยของผู้ป่วยใน 5 อันดับแรก จังหวัดระยอง ที่มา : รง.505
สาเหตุการตาย พ.ศ. 2552 ต่อแสนประชากร
ลำดับความสำคัญของปัญหาสาธารณสุข ปี 2554 1.เบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2.โรคมะเร็ง 3.มลพิษสิ่งแวดล้อม 4.ไข้เลือดออก 5.ปัญหาอนามัยการเจริญพันธ์ในวัยรุ่น 6.โรคเอดส์ 7.อุบัติเหตุจราจร 8.ไข้หวัดใหญ่/ไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 9.สุขภาพจิตและการฆ่าตัวตาย 10.วัณโรค
ปัญหาสาธารณสุขและแนวทางแก้ไข ของจังหวัดระยอง ปัญหา มลพิษหลากหลาย โรคร้ายทวีคูณ ข้อมูลเก็บซุก เชิงรุกมีน้อย ถดถอยประสานงาน หย่อนยานควบคุมกำกับ แนวทางแก้ไข ข้อมูลมีใช้ จริงใจลดโรค ไม่เศร้าโศกมลพิษ พิชิตงานเชิงรุก บุกเยี่ยมเครือข่าย ไม่หน่ายควบคุมกำกับ
แนวทางการบริหารจัดการแนวทางการบริหารจัดการ จังหวัดระยอง - รูปแบบ PRM Model (Primary Care Rayong Management Model) -แนวทางการติดตาม กำกับ และ ประเมินผลงาน - Flow Chart การบริหารจัดการ - MOU
นโยบายการดำเนินงานสาธารณสุข ของนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดระยอง รูปแบบ PRM Model (Primary Care Rayong Management Model) บริการรักษาโรคเรื้อรัง เครือข่ายบริการ บริการรักษาทั่วไป เร่งรัดงานเด่น 1. DM,HT 2. SLM # ปัญหาของระยอง # 1.ข้อมูล 2. มลพิษและสิ่งแวดล้อม 3. โรค CD/NCD 4. งานเชิงรุก 5. การประสาน/บูรณาการ 6. ควบคุมกำกับ เกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิ EMS ระบบเชื่อมโยงกับรพ.>ระบบส่งต่อ/ ข้อมูลผู้รับบริการ/ เวชภัณฑ์/ คำปรึกษา/3ดี รพสต. SRM สุขศึกษา ป่วย เสี่ยง ปกติ หน่วยบริการปฐมภูมิ แผนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Area ต้นแบบ 1 รร. นวัตกรรม 1 หมู่บ้าน แผน *Strategy Map เยี่ยมบ้าน กองทุนตำบล/คกก. ออกกำลังกาย DM/HTในชุมชน SRRT แพทย์แผนไทย คบส./ปัญหาของพื้นที่/ อื่นๆ กลุ่มอายุ/ งาน ข้อมูล 1.เครือข่ายสุขภาพชุมชน 2. Home Ward 3. อนามัยรร. 4. พัฒนาอสม./แกนนำครอบครัว 5. ควบคุมโรคระบาด/ การตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน 6. มลพิษและสิ่งแวดล้อม 7. ปัญหาพื้นที่ / อื่นๆ ม.1 ม. 2 ม.3 ม.4 …. 1. Family Folder 2.HCA /มาตรฐานรพสต./PCA 3. Composite Indicator 4.18 แฟ้ม , CA 5. ซ้อมแผนระดับตำบล 6. ชุมชนสร้างสุขภาพ 7. ปัญหาพื้นที่ / อื่นๆ • * ANC • หลังคลอด • * EPI • * DM,HT,TB,CA • หอบหืด,ลมชัก,ปัญญาอ่อน • * ผู้พิการ • ผู้สูงอายุ • ผู้ถูกทอดทิ้ง • ปัญหาพื้นที่/อื่นๆ On Top Payment เกณฑ์คุณภาพบริการ 20 บาท/หัว PCU จัดบริการแยกผ่านเกณฑ์ 100 บาท/หัว PCU จัดบริการร่วม ผ่านเกณฑ์ 50 บาท/หัว PCU จัดบริการร่วม ผ่านเกณฑ์หลัก /ไม่ผ่านรอง แต่ (มีแผนพัฒนา) 50 บาท/หัว PCU จัดบริการร่วม ไม่ผ่านเกณฑ์ หลัก 0 บาท/หัว
คณะที่ 1การดำเนินงานเพื่อสนองนโยบายและแก้ไขปัญหาเร่งด่วน
หัวข้อที่ 1โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ
แผนภูมิรูปแสดงอัตราต่อแสนประชากร จำนวนผู้ป่วยเบาหวานและ ความดันโลหิตสูง จ.ระยอง ปี พ.ศ. 2550 - 2552
การบริหารจัดการโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯจังหวัดระยอง ลงทะเบียนผู้ป่วยDM/HT ป้องกันไม่ให้ผู้ป่วย พิการเสียชีวิต สมอง หัวใจ ตา ไต เท้า คัดกรองกลุ่มเสี่ยง Metabolic ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป กลุ่มปกติ รักษา ตรวจภาวะแทรกซ้อนHb A1c LDL/Cholesterol Micro albumin Eye exam Foot exam กลุ่มเสี่ยง Pre – DM Pre - HT ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จัดคลินิก DPAC สนับสนุนการดูแลตนเอง บุคคลต้นแบบ กลุ่มป่วย กลุ่มป่วยมีภาวะแทรกซ้อน
การดำเนินงานตามโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ ผลงาน 5 เดือน (เดือน ตุลาคม 2553 – กุมภาพันธ์ 2554)
กิจกรรมการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตและตรวจสุขภาพเชิงรุก โดยรถตรวจสุขภาพเคลื่อนที่
ภาพกิจกรรมการฉายเลเซอร์ตาภาพกิจกรรมการฉายเลเซอร์ตา
กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ผลการดำเนินงาน เกณฑ์การให้คะแนนประกอบด้วย 8 องค์ประกอบดังนี้
ผลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงานอยู่ในระดับดีเยี่ยม
แผนภูมิรูปแสดงอัตราต่อแสนประชากร การเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล ด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จ.ระยอง ปี พ.ศ. 2551 - 2554
- กลุ่มเสี่ยงสูงต่อเบาหวานปี 2552 = 27,758 • ป่วยเป็นเบาหวานปี = 5,307 • คิดเป็นร้อยละ 11.10 • กลุ่มเสี่ยงสูงต่อเบาหวานปี 2553 = 34,411 • ป่วยเป็นเบาหวานปี 2554 = 985 • คิดเป็นร้อยละ 2.8 • ผลลัพธ์ ลดลงจากปี 2553 ร้อยละ 8.3
หัวข้อที่ 2 การควบคุมและป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
สถานการณ์ 1.หญิงตั้งครรภ์ในจังหวัดระยองมีภาวะขาดสารไอโอดีน ในระดับรุนแรง ร้อยละ 79 2.อัตราการขาดสารไอโอดีนในทารกแรกเกิด มีค่า TSH มากกว่า 11.2 มิลลิยูนิตต่อลิตร ร้อยละ 9.56 3. เกลือบริโภคที่ใช้มีคุณภาพร้อยละ 51.02 4. ความครอบคลุมการใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพในครัวเรือน ร้อยละ 91.63 5.เด็กมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 99.82 จังหวัดระยองเป็น 1 ใน 7 จังหวัด ที่มีหญิงตั้งครรภ์ มีภาวะขาดสารไอโอดีนอย่างรุนแรง ข้อมูลสนับสนุน
การบริหารจัดการ 1.ใช้มาตรการเกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า 2.จ่ายยาเม็ดเสริมไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ทุกราย 3.เฝ้าระวังภาวะขาดสารไอโอดีน (ในคน,ในเกลือ) - คัดกรองสุขภาพทารกแรกเกิด - ตรวจปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ - สำรวจคุณภาพเกลือที่ใช้ในครัวเรือน - ตรวจแหล่งผลิต/บรรจุ/จำหน่ายเกลือบริโภค
การบริหารจัดการ(ต่อ) 4. รณรงค์จังหวัดระยอง “เพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว” อย่างต่อเนื่อง 5. ดำเนินการชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน 6. สร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย เพื่อการมีส่วนร่วม - พัฒนาชมรมผู้ประกอบการเกลือเสริมไอโอดีน - พัฒนาชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน - ประชุมภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือในการเสริมไอโอดีนในผลิตภัณฑ์ต่างๆ ดังนี้ 6.1 น้ำปลา 6.2 ใส่เกลือเสริมไอโอดีน 7. แต่งตั้ง อสม. ทุกคนเป็นทูตไอโอดีน (9,620 คน) 8. ประชาสัมพันธ์การบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีนอย่างต่อเนื่อง
ระบบเฝ้าระวังภาวะการขาดสารไอโอดีน จังหวัดระยอง การเฝ้าระวังในคน การเฝ้าระวังในเกลือ
การเฝ้าระวังในเกลือ การควบคุมคุณภาพภายใน (โดยผู้ผลิต) จุดผลิตเกลือเสริมไอโอดีน การควบคุมคุณภาพ โดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ คุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน ร้านค้า ควบคุมโดย เจ้าหน้าที่ของรัฐ ครัวเรือน ควบคุมโดยเจ้าหน้าที่รัฐ,ผู้บริโภค, อสม., อย.น้อย
กระจายสินค้า ขาย สถานที่ผลิตเกลือ ร้านค้า ครัวเรือน การควบคุมคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนและเฝ้าระวังและติดตามการขาดสารไอโอดีน กลุ่มประชากร ระดับไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ พัฒนาการ TSH เด็กวัยก่อนเรียน เด็กแรกเกิด หญิงตั้งครรภ์
ผลการดำเนินงาน ร้อยละของทารกแรกเกิดที่มีค่า TSH มากกว่า 11.2 mU/L in serum หรือมากกว่า 5.0 mU/L in blood ปี 2550-2554 ข้อมูลภาพรวมจังหวัดระยอง
ผลการดำเนินงาน (ต่อ) ข้อมูลภาพรวมจังหวัดระยอง
ผลการดำเนินงาน ความครอบคลุมการใช้เกลือเสริมไอโอดีนในครัวเรือน ปี 2550-2554 ข้อมูลภาพรวมจังหวัดระยอง
หัวข้อที่ 3 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แผนงาน แผนพัฒนาคุณภาพ PCA ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ( Primary Care Award : PCA) แผนสนับสนุนการทำนวัตกรรมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และมีเวทีแลกเปลี่ยนผลงานทางวิชาการในระดับจังหวัด เดือนมิถุนายน 2554 แผนในการจัดอบรมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ รพ.สต. ตามนโยบาย 5 ด้าน ให้ผ่านตามเกณฑ์ รพ.สต.ของกระทรวงสาธารณสุข และเกณฑ์ของสำนักงานก.พ.ร. พัฒนาหลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ปี 2554 ให้ครบทุกแห่ง แผนการจัดอบรมรักษาพยาบาลเบื้องต้น การป้องกันควบคุมโรค ส่งเสริมสุขภาพแก่พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่จบใหม่และรับสมัครใหม่ วันที่ 20-22 เมษายน 2554 แผนการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
ผลงาน 1. ชี้แจงเกณฑ์ รพ.สต. และ ภารกิจ 5 ด้าน 2. จัดทำแผนพัฒนา รพ.สต. ปี 2554 3. จัดทำแผนงบประมาณครุภัณฑ์ งบดำเนินงาน และงบสาธารณูปโภค ปี 2554 (งบ 46 ล้านบาท) 4. จัดทำป้าย รพ.สต. ครบทุกแห่ง ตามเป้าหมาย ปี 2554
5. จัดจ้างบุคลากร พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 10 คน • นักวิชาการสาธารณสุข จำนวน 52 คน • 6. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้เชื่อมต่อ • ระหว่างแม่ข่ายไปลูกข่าย • 7. แต่งตั้งคณะกรรมการ 4 ภาคส่วนใน รพ.สต. • ทุกแห่ง • 9. ให้บริการยาสมุนไพรทุก รพ.สต. • มีนักแพทย์แผนไทย 3 แห่ง ที่รพ.สต. ตะพง, • รพ.สต. เนินพระ และ รพ.สต.ยายร้า
การพัฒนาคน • อบรมหลักสูตรผู้ช่วยแพทย์แผนไทยใน รพ.สต. หลักสูตร 4 เดือน จำนวน 11 คน • อบรมหลักสูตรผู้ช่วยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข • ใน รพ.สต. หลักสูตร 4 เดือน จำนวน 12 คน
ประชุมเชิงปฏิบัติการการเขียนโครงการเชิงรุก ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจังหวัดระยอง