1.04k likes | 1.49k Views
การดูแลสุขภาพ กายและใจ ของข้าราชการตำรวจ. การดูแล สุขภาพ ตำรวจ ๕ พย. ๒๕๕๖. ข้าราชการตำรวจ มีหน้าที่. ตรวจตรารักษาความสงบ มีอำนาจจะสอบสวน จับกุม คุมขัง ปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย เป็นผู้ที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบอันใหญ่หลวงในการดูแลคุ้มครอง ให้เกิดความสงบสุขแก่พลเมืองของประเทศ.
E N D
การดูแลสุขภาพ กายและใจของข้าราชการตำรวจ • การดูแล • สุขภาพ • ตำรวจ ๕ พย. ๒๕๕๖
ข้าราชการตำรวจ มีหน้าที่ • ตรวจตรารักษาความสงบ • มีอำนาจจะสอบสวน • จับกุม คุมขัง • ปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย • เป็นผู้ที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบอันใหญ่หลวงในการดูแลคุ้มครอง ให้เกิดความสงบสุขแก่พลเมืองของประเทศ
การดูแลสุขภาพของข้าราชการตำรวจการดูแลสุขภาพของข้าราชการตำรวจ ใครดูแล ?? • ดูแลตนเอง • บุคคลากรทางการแพทย์ • สถาบันทางการแพทย์ โรงพยาบาลรัฐ โรงพยาบาลเอกชน สุขภาพ
การดูแลสุขภาพของข้าราชการตำรวจ ใครดูแล ?? ดูแลตนเอง อย่างไร ?? • มีความรู้ • มีความเข้าใจ • มีวินัย • มีศรัทธา สุขภาพ
การดูแลสุขภาพของข้าราชการตำรวจ ใครดูแล ?? • บุคคลากรทางการแพทย์ • ผู้เชี่ยวชาญ • ผู้ชำนาญการ • แพทย์เฉพาะทาง สุขภาพ
การดูแลสุขภาพของข้าราชการตำรวจ ใครดูแล ?? • สถาบันทางการแพทย์ โรงพยาบาลรัฐ โรงพยาบาลเอกชน • พร้อมให้บริการ • มีระบบปฏิบัติการที่มี มาตรฐาน และรวดเร็ว • ทันสมัย และ มีประสพการณ์ สุขภาพ
การดูแลสุขภาพของข้าราชการตำรวจ ใครดูแล ?? ดูแลตนเอง อย่างไร ?? • มีความรู้ • มีความเข้าใจ • มีวินัย • มีศรัทธา สุขภาพ
การดูแลสุขภาพของข้าราชการตำรวจ จุดมุ่งหมาย?? จุดมุ่งหมาย ?? • สุขภาพ สภาพ ที่มีความสุข กาย และ ใจ • ความสุขที่แท้จริง • ความสุข และ ความเจริญ สุขภาพ
โรคหัวใจ และ หลอดเลือด • โรคหัวใจแต่กำเนิด • โรคหัวใจที่เกิดขึ้นภายหลัง
โรคหัวใจ และ หลอดเลือด • โรคหัวใจแต่กำเนิด • โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ....................................... • โรคลิ้นหัวใจพิการ (ลิ้นหัวใจตีบ ลิ้นหัวใจรั่ว) • โรคหัวใจวาย • ความดันโลหิตสูง................................................... • โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ • โรคเนื้องอกของหัวใจ
ปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจ • ภาวะคอเลสเตอรอลในเลือดสูง • ความดันโลหิตสูง • เบาหวาน • ความอ้วน • ความเครียด • การขาดการออกกำลังกาย • การสูบบุหรี่การดื่มสุรา • การมีประวัติในครอบครัวเป็นโรคหัวใจขาดเลือด
ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ • อายุ • ประวัติครอบครัว • ไขมันในเลือดสูง • ความดันโลหิตสูง • เบาหวาน • เพศ • สูบบุหรี่ • โรคอ้วน • การไม่ออกกำลังกาย • ลักษณะนิสัย
การใช้ชีวิต • 3 3อ • อารมณ์ • อาหาร • ออกกำลังกาย
Relationship of Serum Cholesterol to Mortality (Seven Countries Study) 35 Northern Europe 30 25 United States 20 Death rate from CHD/1000 men 15 Southern Europe, inland 10 Serbia Southern Europe, Mediterranean 5 Japan 0 2.60 3.25 3.90 4.50 5.15 5.80 6.45 7.10 7.75 8.40 9.05 Serum total cholesterol (mmol/l) (Adapted from Verschuren et al., 1995)
อัตราตายที่ลดลงในสหรัฐอเมริกา 1972 - 1990 % Decline in Mortality Year NHLBI 1990
แนวโน้มโรคหัวใจและหลอดเลือดในประเทศไทยแนวโน้มโรคหัวใจและหลอดเลือดในประเทศไทย Ratio 1:10,000 adm Year 1991 Sant Hathirat
อัตราตายในประชากรไทย 2529-2536 อัตราตาย/100,000 34,272 เสียชีวิตจากหัวใจและหลอดเลือด 4 คน/ชั่วโมง Year คณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ 2536
Mr.Guy Arthur Jung AGE: 48 Yrs. Dr.Sopon Krisanarungson / Dr.JakkawanWongwiwat Coroflex please 2.75x28 mm. Pre-angioplasty Post-angioplasty 19 June 2011
Necropsy Study. • The data from the study (WHO/ISFC study of Patho-biological Determinants of Atherosclerosis in Youth (PBDAY) … WHO 1997 (10 year multinational collaborative study:1986-1996)) • Pilot study 18 centers in 15 countries: 1987 • Main study 11 centers in 11countries: 1997 Necropsy Study
Necropsy Study. • Main study 11 centers in 11 countries • main study 1277 cases m 75% f 25% • Fatty streak lesions in AO were found 100% of 355 cases in RCA were found 68 % of 319 cases • Raised lesions 7.05% in DTA, 25.75% in AA, 22.5% in RCA Necropsy Study
โรคที่พบ บ่อย • ความดันโลหิตสูง • เบาหวาน • ไขมันในเลือดสูง • เกาส์ • โรคอ้วน • โรคหัวใจ • โรคทางเดินหายใจ • โรคทางเดินอาหาร
ความดันโลหิตสูง อัมพาต โรคหัวใจ โรคไต
ความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตสูง 3.0 Men, ages 45-74 2.0 CHD Risk Ratio 1.0 อัมพาต โรคหัวใจ โรคไต Systolic <140 140-160 >160 Diastolic <90 90-95 >95 Blood Pressure (mmHg)
เสียชีวิตจากโรคหัวใจ เสียชีวิตจากโรคหัวใจ พิจารณา อายุ และ เพศ ชาย หญิง อายุ (ปี)
ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ • อายุ • ประวัติครอบครัว • ไขมันในเลือดสูง • ความดันโลหิตสูง • เบาหวาน • เพศ • สูบบุหรี่ • โรคอ้วน • การไม่ออกกำลังกาย • ลักษณะนิสัย
สารพิษจากบุหรี่ • นิโคติน • คาร์บอนมอนนอกไซด์ • น้ำมันดิน • ฟอร์มอลดีไฮด์
บุหรี่ 4.0 Men, ages 40-64 3.0 CHD Risk Ratio 2.0 1.0 0 ~10 ~20 >20 Cigarette Consumption Per Day
โรคหัวใจ ใครๆ ก็ไม่รัก
ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ • ไขมันในเลือดสูง
ไขมันในเลือด • โคเลสเตอรอล (Cholesterol) • ไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) • เอชดีแอล (HDL) • แอลดีแอล (LDL)
ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ • อายุ • ประวัติครอบครัว • ไขมันในเลือดสูง • ความดันโลหิตสูง • เบาหวาน • เพศ • สูบบุหรี่ • โรคอ้วน • การไม่ออกกำลังกาย • ลักษณะนิสัย
อ้วนลงพุง ไขมันผิดปกติ ความดันสูง น้ำตาลในเลือดผิดปกติ
โรคอ้วน • มีโอกาสเกิด เบาหวาน ชนิดที่ 2 เพิ่มขึ้น 3-4 เท่า เบาหวาน พบว่า 80% อ้วน • ไขมันในเลือดผิดปกติ • นิ่วในถุงน้ำดี • โรคข้อเข่าเสื่อม • เกาส์ • มะเร็ง: เต้านม, มดลูก, ลำไส้ใหญ่, ไต • อารมณ์แปรปรวน
โรคอ้วน • เพิ่มอัตราการเป็นอัมพาต 2 เท่า • sudden death 2.8 เท่า • เพิ่มอัตราการเป็นหัวใจวาย 1.9 เท่า • เพิ่มอัตราการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ 1.5 เท่า
สาเหตุที่ทำให้เป็นโรคอ้วนสาเหตุที่ทำให้เป็นโรคอ้วน • กรรมพันธ์ • นิสัยจากการรับประทานอาหาร • การไม่ออกกำลังกาย • เพศ • อายุอารมณ์และจิตใจ • ยา • โรคทางกายกินมาก ขยับน้อย อ้วน • กินเท่าไร ใช้ให้หมด • ลดพุง ลดโรค
โรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมากโรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมาก • ปัญหาเกี่ยวกับหัวใจ ซึ่งได้แก่ โรคหลอดเลือดและหัวใจ เช่น ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคหลอดเลือดโคโรนารี
โรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมากโรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมาก • มะเร็ง เช่น มะเร็งลำไส้ใหญ่ ปากมดลูก เยื่อบุมดลูก มดลูก รังไข่ เต้านม ต่อมลูกหมาก ถุงน้ำดี ตับอ่อน
โรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมากโรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมาก • โรคทางเดินหายใจและปอด หายใจลำบากขณะนอนหลับ นอนกรน (snoring) เพราะทางเดินหายใจเริ่มตีบตัน ร่างกายจะขาดออกซิเจน ทำให้ ร่างกายพักผ่อนไม่เต็มที่ ง่วงนอนในเวลากลางวัน หลับในขณะขับรถ จนเกิดอุบัติเหตุได้
โรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมากโรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมาก • โรคกระดูกและข้อต่อ โรคข้อต่อเสื่อม (os-teoarthritis in joints) โดยเฉพาะบริเวณสะโพก หัวเข่า ข้อศอก • โรคเก๊าท์ (gout)
โรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมากโรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมาก • เส้นเลือดในสมองแตกหรืออุดตัน (stroke)
โรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมากโรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมาก • โรคเกี่ยวกับไต เช่น นิ่ว ไตวายจากความดันโลหิตสูง
โรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมากโรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมาก • -ซึมเศร้า (depression)-เส้นเลือดขอด (varicose vein)-เหงื่อออกมาก (sweating)-การเป็นหมัน (infertility)
Benefits of weight loss. • ลด จำนวนการเสียชีวิต และความเจ็บป่วย • โรคต่างๆ ลดลง ลดโอกาสเกิดมะเร็ง ที่เกี่ยวกับโรคอ้วน ลง 53 % ลด การตายจากเบาหวานลง 44 % ลด การตายลง 20 % เป็นผลดีต่อการควบคุมความดันโลหิตสูง เป็นผลดีต่อการควบคุมความผิดปกติของไขมันในเลือด
ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ • อายุ • ประวัติครอบครัว • ไขมันในเลือดสูง • ความดันโลหิตสูง • เบาหวาน • เพศ • สูบบุหรี่ • โรคอ้วน • การไม่ออกกำลังกาย • ลักษณะนิสัย