1 / 59

จาก “Sub Prime” สู่ “ วิกฤติเศรษฐกิจโลก ”

จาก “Sub Prime” สู่ “ วิกฤติเศรษฐกิจโลก ”. โดย ม.ล.กรกสิวัฒน์ เกษมศรี ผู้ช่วยเลขาธิการ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ. เหตุใดเพียงการกู้ซื้อบ้านของคนสหรัฐฯจึงสั่นสะเทือนโลกได้มากมายขนาดนี้ ? ธนาคาร Lehman Brothers ต้องล้มละลาย

ann
Download Presentation

จาก “Sub Prime” สู่ “ วิกฤติเศรษฐกิจโลก ”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. จาก“Sub Prime”สู่“วิกฤติเศรษฐกิจโลก” โดย ม.ล.กรกสิวัฒน์ เกษมศรี ผู้ช่วยเลขาธิการ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ

  2. เหตุใดเพียงการกู้ซื้อบ้านของคนสหรัฐฯจึงสั่นสะเทือนโลกได้มากมายขนาดนี้?เหตุใดเพียงการกู้ซื้อบ้านของคนสหรัฐฯจึงสั่นสะเทือนโลกได้มากมายขนาดนี้? ธนาคาร Lehman Brothers ต้องล้มละลาย ธนาคาร Northern Rock,Bear Stern,Meryl Lynch, AIG ต้องขายกิจการ บริษัทต่างๆต้องปิดกิจการ คนตกงานทั่วโลกนับล้าน ไม่เว้นแม้แต่ฉันทนาไทยยังต้องเดือดร้อน ดังคำกล่าวที่ว่า “เพียงผีเสื้อขยับปีกก็สั่นสะเทือนถึงดวงดาว” สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นได้อย่างไร???

  3. วิกฤตินี้จะยาวนานเท่าใด???วิกฤตินี้จะยาวนานเท่าใด??? การวิเคราะห์ปัญหาสามารถแบ่งได้เป็น 2 แนวทาง 1. เกิดจาก Mis-management ในธุรกิจการเงินบางแห่ง เช่น CEO ตัดสินใจผิดพลาด เรียกว่า “Functional Crisis” ปัญหาจะจบเร็ว 2. เกิดจากปัญหาเชิงโครงสร้างของทุนนิยมโลกาภิวัตน์ เรียกว่า“Structural Crisis”เป็นเรื่องใหญ่มาก - เพราะปัญหาเกิดจากโครงสร้างเศรษฐกิจการเงินโลกทั้งระบบ - ยากที่จะคาดเดาถึงผลกระทบที่จะตามมาเป็นลูกโซ่ - จะเกิดการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจการเงินโลกขนานใหญ่ - ใช้เวลาเยียวยายาวนาน

  4. 150 ปี 37 ปี แห่งยุคทองของ ทุนนิยม 27 ปี แห่งความผันผวน พัฒนาการทางเศรษฐกิจของโลก ? Sub-prime Crisis 2007 Stagflation 1973 ? Great Depression 1929 1944 มาตรฐาน ทองคำ ? Welfare State John Maynard Keynes, 1936 Wealth of Nations Adam Smith 1776 200 ปี กว่า 200 ปีที่ผ่านไป ยังไม่มีทฤษฎีใดที่นำไปสู่เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ประวัติศาสตร์ยังคงซ้ำรอย และทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ

  5. เคยตั้งคำถามไหม? ทำไมวิกฤติเศรษฐกิจโลกจึงเกิดต่อเนื่องหลังปี1973? US Stagflation 1973 1989 1982 1997 1992 SUBPRIME 2000 2008

  6. 37 ปีแห่ง“ยุคทองของทุนนิยม”เกิดขึ้นได้อย่างไร? • Bretton Woods (1944) ทำให้นานาประเทศสะสมดอลล่าร์เป็นทุนสำรองร่วมกับทองคำ, กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนอิงทองคำ • จัดตั้ง IMF & World Bank ควบคุมอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ • การให้ความช่วยเหลือของสหรัฐฯในการฟื้นฟูเศรษฐกิจของยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ภายใต้ Marshall Plan • ดอลล่าร์สหรัฐฯกลายเป็น“เงินตราสากล” USD as good as GOLD

  7. 1971จุดเริ่มแห่งความผันผวนทางเศรษฐกิจ1971จุดเริ่มแห่งความผันผวนทางเศรษฐกิจ • จากการขาดวินัยการเงินการคลัง ทำให้สหรัฐฯขาดดุลการค้าและดุลการชำระเงินอย่างหนัก จากการทำสงรามและระบบรัฐสวัสดิการ • 1971เกิด“NIXON SHOCK”สหรัฐฯต้องยกเลิกนโยบายตามข้อตกลง Bretton Woods($35=ทอง 1 ออนซ์) เนื่องจากสหรัฐฯพิมพ์ดอลล่าร์สูงกว่าปริมาณทองคำสำรอง (ลดจาก55%เป็น22%) • เกิดระบบค่าเงินลอยตัวแบบมีการจัดการครั้งแรกของโลก • (Managed Floating Exchange Rate) • เศรษฐกิจสหรัฐฯ เข้าสู่การอิ่มตัว • - USD ลงทุนและเงินกู้กระจายไปสู่ประเทศด้อยพัฒนา • - เกิด Global PortfolioInvestment • ผลของ Internationalization ของกองทุนทำให้: • ปริมาณความเคลื่อนไหวของทุนระหว่างภูมิภาคเพิ่มปริมาณสูงขึ้น • เงินไม่เพียงทำหน้าที่ในการเป็น “สื่อกลางแลกเปลี่ยนสินค้า” เท่านั้น • เพิ่มบทบาทการเป็น“สินค้า”ในตัวเองอีกด้วย

  8. 1980 จากความล้มเหลวของรัฐสวัสดิการ สหรัฐฯเข้าสู่ยุคเสรีนิยมใหม่ (Neo Liberalism) • มาจากรากฐานทฤษฏี Classic (เสรีนิยม) • มองกลไกตลาดแก้ปัญหาเศรษฐกิจทุกเรื่อง • ผ่าน “มือที่มองไม่เห็น” (Invisible Hand) • เชื่อว่านำไปสู่การผลิตและการจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ • โดยมีปรัชญา • การเปิดเสรี (Liberalization) • การลดกฎเกณฑ์ของรัฐ (Deregulation) • การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (Privatization)

  9. 1989จอห์น วิลเลียมสัน ผู้ให้กำเนิด “ฉันทามติวอชิงตัน” • นโยบายส่งเสริมตลาดเสรีและลดบทบาทการแทรกแซงเศรษฐกิจของรัฐ เช่น • เปิดเสรีทางการเงิน • เปิดเสรีทางการค้า • เปิดเสรีการลงทุนระหว่างประเทศ • แปรรูปองค์กรภาครัฐไปสู่เอกชน • ลดกฎเกณฑ์และการกำกับดูแล โดยในทางปฏิบัติใช้ร่วมกันระหว่าง IMF, World Bank และ กระทรวงการคลัง เพื่อเป็นกุญแจสำคัญในการเปิดพื้นที่ประเทศกำลังพัฒนา เพื่อการค้าและธุรกิจของสหรัฐฯ กลุ่มผู้คัดค้านเชื่อว่าผลของนโยบายจะนำพาเศรษฐกิจ ประเทศกำลังพัฒนาไปสู่หายนะในที่สุด

  10. 1990 จอร์จ บุช(ผู้พ่อ) กับการประกาศการจัดระเบียบโลกใหม่ • ประกาศ“จัดระเบียบโลกใหม่ตามฉันทามติวอชิงตัน”เพื่อให้ประชาคมโลกเดินตามระเบียบอันนี้เมื่อวันที่ 11 กันยายน 1990 (9/11/1990) ประกอบไปด้วยสาระสำคัญ ๔ ประการคือ 1) ความเป็นประชาธิปไตย (Democracy) 2) สิทธิมนุษยชน (Human Right) 3) สภาพแวดล้อม (Environment) 4) การค้าเสรี (Free Trade) เป็นเครื่องมือของมหาอำนาจในการแสวงหาผลประโยชน์โดยการบีบบังคับประเทศต่างๆ ให้อยู่ภายใต้อิทธิพลเพื่อการเกื้อกูลต่อการปฏิบัติการในด้านต่างๆ เช่น การกีดกันด้านการค้าต่อประเทศที่ไม่ดำเนินการตาม New World Order หากไม่เปิดเสรีทางการเงินกับสหรัฐฯ เป็นต้น

  11. แนวคิด :Neo Liberal เสรีนิยมใหม่ • 1980 เกิดแนวคิดเสรีนิยมใหม่ (ตลาดเสรี) • 1989 สร้างเป็น Policy Menu เรียกว่า ฉันทามติวอชิงตัน • 1990 จอร์ช บุช(พ่อ) ประกาศ “การจัดระเบียบโลกใหม่” เพื่อการเปิดพื้นที่ทางการค้าและการลงทุนให้กับเครือข่ายทุนนิยมในประเทศ นำไปสู่ การปฏิบัติ :Globalization โลกาภิวัตน์

  12. กลไกตลาดเสรี ทางทฤษฎี ความคาดหวัง • ตลาดเสรีจัดระเบียบได้ด้วยตัวเอง • ปราศจากข้อจำกัด • สนองความต้องการทุกภาคส่วน • ยกเลิกอุปสรรคที่จะขัดขวางการเคลื่อนไหวเสรี • เพิ่มประสิทธิภาพ • เกิดการจ้างงานเต็มที่ • มาตรฐานการครองชีพสูงขึ้น • ขจัดความล่าช้าของระบบราชการ • ลดต้นทุนทางตรงและทางอ้อม

  13. กลไกตลาดเสรี ทางปฏิบัติ ความเป็นจริง • การแลกเปลี่ยนเป็นไปตาม ปฎิสัมพันธ์เชิงอำนาจของประเทศต่างๆ • การแข่งขันเสรีเอื้อประโยชน์ต่อ ผู้เข้มแข็งเหนือผู้อ่อนแอ • มีการแทรกแซงโดยรัฐ • เกิดความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ • เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ • ปัญหาการว่างงาน The National Security Foreign Investment Reform & Strengthened Transparency Act U.S. Port

  14. ถึงแม้กระบวนการโลกาภิวัตม์ ภายใต้บรรยากาศเสรีจะสร้างความเจริญมากมาย แต่ก็มีข้อบกพร่องอยู่ไม่น้อย

  15. วิกฤติที่เกิดขึ้น มีรากลึกกว่าปัญหา “Sub Prime”หรือการเก็งกำไรอสังหาฯ รากนั้นคืออุดมการณ์ตลาดเสรีสุดขั้ว สมมุติฐานหลักของแนวคิดนี้คือ ตลาดเสรีทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เคลื่อนตัวเข้าสู่จุด "ดุลยภาพ" (equilibrium) ได้ด้วยตัวเอง GEORGE SOROSThe New Paradigm for Financial Markets ผมเห็นว่าไม่เป็นความจริงเล๊ย..! คนเค้าเชื่อกันได้ไง ?

  16. ทศวรรษ 1980Reagan และ Thatcher ได้ผ่อนปรนกฎเกณฑ์การดูแลธนาคาร โดยใช้ "กลไกตลาด" นำไปสู่การขยายตัวของสินเชื่อเข้าสู่ภาวะฟองสบู่ จากการถูกส่งเสริมด้วยความเชื่อผิดๆ ว่าตลาดจะ "แก้ไขตัวเอง" (self-correct) ทำให้เจ้าหนี้ย่ามใจเร่งปล่อยกู้ เพิ่มแนวโน้มที่จะเกิดภาวะฟองสบู่ยิ่งกว่าเดิม ปัญหา "จริยวิบัติ" หรือ “moral hazard”เป็นอีกปัญหาในภาคการเงิน เพราะสถาบันการเงินกลายเป็นตัวการสร้างความเสี่ยงไม่ใช่รับความเสี่ยง (เนื่องจากสามารถ "ส่งต่อ" ความเสี่ยงไปให้คนที่ไม่มีความรู้ เช่น นักลงทุน เพราะสามารถแปลงสินเชื่อซับไพรมเป็นหลักทรัพย์ไปขายในตลาดทุนได้) GEORGE SOROSThe New Paradigm for Financial Markets

  17. ความเกี่ยวข้องของ Sub Prime วิกฤติเศรษฐกิจและโลกาภิวัตน์

  18. โลกาภิวัตน์ทางการเงินผนวกแต่ละพื้นที่ของโลกที่มีโครงสร้างแตกต่างกันเข้าด้วยกัน เกิดความลักลั่นของกฎเกณฑ์ และขาดหน่วยงานกลางในการกำกับ สร้างความผันผวนและไม่เป็นธรรมแก่ผู้ที่อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ที่แตกต่างกัน การเคลื่อนย้ายเงินทุนเป็นไปอย่างเสรี และ รวดเร็ว แต่ขาดการกำกับในระดับโลก (IMF แสดงจุดยืนที่ชัดเจนในการคัดค้านการกำกับ) ประเด็นที่ 1.ความลักลั่นของกฎเกณฑ์ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์

  19. ถึงแม้การเก็บภาษีนี้จะขัดกับผลประโยชน์ของเขา แต่เชื่อว่าจะเป็นผลดีกับเศรษฐกิจของโลก โลกาธนานุวัตน์ทำให้ ทุนการเงิน มีความได้เปรียบที่ไม่เป็นธรรมต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจในด้านอื่นที่ต้องเสียภาษี การเก็บภาษีจากการค้าเงินจึงเป็น สิ่งที่ช่วยแก้ไข ให้เกิดความสมดุล ในระบบเศรษฐกิจโลก Ex. ข้อถกเถียงเรื่องควบคุมการเคลื่อนย้ายเงินทุน โดยการจัดเก็บภาษีโทบิน(Exit Tax) นายจอร์จ โซรอส ประเทศสหรัฐฯ • สหรัฐฯ และ IMF เห็นว่าการเคลื่อนย้ายเงินตราควรเป็นไปอย่างเสรี • ปราศจากการควบคุม • แนวคิดได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลใน สมัยเรแกน และคลินตัน

  20. ประเด็นที่ 1.(ต่อ)บริษัท(โดยเฉพาะเฮดจ์ฟันด์)เลือกที่จะอยู่ภายใต้กติกาที่เอื้อประโยชน์ต่อตนเองมากที่สุด จึงจดทะเบียนในประเทศที่มีการควบคุมต่ำ เพื่อลดต้นทุนในการทำธุรกรรมรอดพ้นจากกฎระเบียบต่างๆ ปริมาณบริษัทที่จดทะเบียนที่ British Virgin Islands (BVI) ตั้งแต่ปี 2002-2006

  21. ประเด็นที่ 2.โลกกำลังเสียสมดุลเนื่องจาก ปริมาณเงิน Dollar ที่เพิ่มขึ้นจำนวนมหาศาล สหรัฐขาดดุล+นโยบายแก้ปัญหา Sub Prime จีนและรัสเซียเข้าสู่ระบบทุน ราคาน้ำมันเพิ่มสูงขึ้น เพิ่มปริมาณเงิน Dollar เข้าระบบ เงิน Dollar จากการค้า นำเงิน Dollar ไป Recycle ทั้งในระบบเศรษฐกิจจริง และ เศรษฐกิจการเงิน ???

  22. ปริมาณ USD ในโลกที่เพิ่มขึ้นนำไปสู่Casino Economy ที่มา: 1. Money Supply จาก CEIC 2. Foreign Reserve จาก IMF (composition ประมาณจากสัดส่วน currency composition ใน allocated reserve)

  23. ปัญหาสภาพคล่องจากเสรีทางการเงินปัญหาสภาพคล่องจากเสรีทางการเงิน สภาพคล่องเปรียบเสมือนกับน้ำในเขื่อน ที่แต่ละประเทศกักเก็บเอาไว้ การเปิดเสรีทางการเงิน จึงเป็นการเปิดน้ำในเขื่อน เพื่อระบายออก หากเปิดมากเกินไป น้ำจะท่วมท้นออกมา

  24. ผลที่ตามมา • ผลของปริมาณ USD บวกกับแนวคิดเสรี เกิด 5 Over1.1 Over Borrowingกู้เกินตัว ส่วนใหญ่เอาเงินในอนาคตมาใช้ในปัจจุบัน1.2 Over Investmentโดยในเฉพาะในภาคการเงิน1.3 Over Consumptionทั้งรัฐบาลและประชาชนเป็นหนี้มหาศาล1.4 Over Speculationเก็งกำไรเกินตัวทำให้ตลาดมีความผันผวนสูง เช่น ค่าเงิน น้ำมัน ทองคำ ฯ1.5 Over Inflated Asset Priceมูลค่าสินทรัพย์ต่างๆ โป่งพองมากมายมหาศาลเงินเฟ้อสูง 2. ภาคการเงินครอบงำภาคการผลิต

  25. ประเด็นที่ 3.นวัตกรรมทางการเงินใหม่ๆที่เกิดขึ้นมากมาย กระจาย/ลดความเสี่ยง??หรือเพิ่มความผันผวน?? Lack of Transparency CDO Structured Products In-eff. of Regulation Leverage อนุพันธ์ Speculate

  26. ประเด็นที่ 3.(ต่อ)การเพิ่มขึ้นสูงของนวัตกรรมการเงิน ความเสรีที่ไร้ขอบเขต ขาดวินัย ไร้การควบคุม (เสรีทวีคูณ!!!) Derivatives 1012% of World GDP 80% of liquidity Securitized debt 10% of liquidity 129% of World GDP M2 9% of liquidity 115% of World GDP M1 1% of liquidity 8% of World GDP รูปจาก CLSA Asia Pacific Market

  27. ประเด็นที่ 3.(ต่อ)กำเนิด Sub Prime CDO Sources: International Monetary Fund, Milken Institute.

  28. ผลที่ตามมา ผลของนวัตกรรมใหม่บวกแนวคิดเสรี ทำให้ 1. ธนาคารกลางไม่สามารถควบคุมสภาพคล่องของทั้งระบบได้ 2. การลงทุนในอนุพันธ์ คิดเป็นสัดส่วน 1,000% ของ GDP โลกหมายความว่า หากเกิดความเสียหายขึ้นจะมีความรุนแรงเป็นทวีคูณ 3. นวัตกรรมทางการเงินใหม่ๆ(เช่น Sub Prime CDO) ทำให้ตลาดมีความซับซ้อนขึ้น และมีโอกาสล้มเหลวได้เสมอ (จาก อลัน กรีนสแปน)

  29. Sub Prime และผลกระทบ ต่อเศรษฐกิจการเงินจะเป็นอย่างไร?

  30. Source: The Economist

  31. 1. ปัญหา Subprime น่าจะยืดเยื้อ(คล้ายวิกฤตเศรษฐกิจไทย) ไม่รู้ปริมาณที่แน่นอนของ Subprime ไม่รู้ปริมาณที่แน่นอนของอนุพันธ์ที่เกี่ยวกับ Subprime ปัญหา Home Equity Loan SIV :นวัตกรรมซ่อนCDOให้อยู่นอกงบการเงิน

  32. SIV : นวัตกรรมซ่อนCDOให้อยู่นอกงบการเงิน SIV (Structured Investment Vehicles) Inv. Bank Citigroup UBS Merrill lynch etc. SIV - CDO - CDO square - Structured Note linked to CDO • - SIV ถูกจัดตั้งโดยงานวาณิชธนกิจ • ของธนาคาร และ เป็นผู้ซื้อ CDO ผ่านช่องทาง SIV • การตั้งสำรองของธนาคารจึง • อาจยังไม่หมด ส่วนต่างของดอกเบี้ย ระยะสั้นและยาว เป็นรายได้ของธนาคาร จ่ายดอกเบี้ย ตั๋วแลกเงิน Funding จ่ายดอกเบี้ย ตั๋วแลกเงิน สนับสนุนสภาพคล่อง หากไม่มีผู้ซื้อตั๋ว ABCP Asset Backed Commercial Paper ตั๋วแลกเงินระยะสั้นที่มีสินทรัพย์หนุนหลัง นักลงทุน เงินลงทุน

  33. 2. เกิดปัญหาต่อภาคการเงินต่อเนื่องและรุนแรง

  34. 2.1สถาบันการเงินต้องตัดหนี้สูญอย่างต่อเนื่อง และจำเป็นต้องเพิ่มทุนอย่างต่อเนื่องเช่นกัน หากทำไม่ได้ก็ต้องปิดกิจการ IMF ปรับคาดการณ์ความเสียหายเพิ่มเป็น$1.4 ล้านล้าน จาก $1 ล้านล้าน ณ วันที่ 11 ต.ค. ทั่วโลกมีการ write down ไปแล้ว $9.21 แสนล้าน ที่มา: Bloomberg

  35. 2.1(ต่อ) ธนาคาร 9 แห่งที่คาดว่าจะได้รับการเพิ่มทุนรัฐ : Nationalization??? ปี 2008 มีธนาคารพาณิชย์ปิดกิจการเพิ่มอีก 20 แห่ง

  36. คนตกงานทั่วโลกทั้งภาคการเงินและการผลิตคนตกงานทั่วโลกทั้งภาคการเงินและการผลิต คนตกงานทั่วโลก ที่มา: Bloomberg

  37. 2.2 สถาบันการเงินต้องลด Leverage Ratio ทรัพย์สิน/ทุน 2000 2005 2007 June 2008 40 Sources: Bloomberg, FDIC, Milken Institute. 34 33 35 32 31 31 30 28 28 30 27 26 24 24 25 23 22 22 22 19 19 20 18 15 10 5 n.a. 0 Bear Stearns Merrill Lynch Morgan Stanley Lehman Brothers Goldman Sachs วาณิชธนกิจสหรัฐฯ กู้เงินเกินตัว

  38. 2.2 (ต่อ) Leverage ratios ของสถาบันการเงินชนิดต่างๆ (มิ.ย. 2008) Sources: Federal Deposit Insurance Corporation, Office of Federal Housing Enterprise Oversight, National Credit Union Administration, Bloomberg, Google Finance, Milken Institute.

  39. 2.2 (ต่อ)ลด Leverage Ratio จำต้องขาย Asset จำนวนมาก จากงบการเงิน ณ สิ้นปีบัญชี 2007

  40. LTD : Lehman to Date ตลาดหุ้นตกทั่วโลก LTD = Lehman to Date เมื่อธนาคารที่มีปัญหาต้องขายทรัพย์สินในเวลาเดียวกัน การทรุดตัวอย่างรุนแรงของราคาทรัพย์สินทั่วโลกจึงหลีกเลี่ยงได้ยาก ที่มา: Bloomberg

  41. 3. ขาดความเชื่อมั่นในระบบสถาบันการเงิน ระบบ Inter-Bank ไม่ทำงาน ส่งผลกระทบต่อ Real Sector เกิด Credit Tsunami Libor-UST ใส่รูป Spead Widen เศรษฐกิจโลกทั้งภาคการเงินและภาคการผลิตเข้าสู่สภาวะถดถอย !!!

  42. แต่นักวิเคราะห์ในต่างประเทศส่วนใหญ่เห็นตรงข้ามกับนักเศรษฐศาสตร์ระดับโลกอย่าง Paul Krugman, Joseph Stiglitz • ความเห็นจาก Paul Krugman • Compare to ’70s and ’90s, problems look a lot worse this time: • a much bigger bubble • more financial distress • deeper consumer indebtedness • sky-high oil prices • we should be looking at an extended period of economic weakness, probably extending well into 2010, and quite possibly even longer. The New York Times.Feb 22, 2008

  43. 4.รัฐกู้มากขึ้นเพื่ออัดฉีดสภาพคล่อง และ พยุงเศรษฐกิจ ผลของมาตรการจะทำให้หนี้สาธารณะของสหรัฐฯ สูงขึ้นไปอีก ที่มา: CEIC เดือนมิถุนายน 51= $9.51 tril + F&F (200bn) + TARP (700bn)

  44. จากปริมาณการก่อหนี้ของสถาบันการเงินที่มีอยู่สูงจากปริมาณการก่อหนี้ของสถาบันการเงินที่มีอยู่สูง จึงเป็นเรื่องยากที่สหรัฐฯจะสามารถหยุดยั้งการถดถอยของเศรษฐกิจลงได้ ด้วยนโยบายในการอัดฉีดสภาพคล่องเข้าสู่ระบบเพื่อทดแทนสภาพคล่องที่ไหลออก

  45. 5. การปรับโครงสร้างของโลก 5.1 โครงสร้างอำนาจทั้งทางเศรษฐกิจและการเมือง 5.2 โครงสร้างระบบการเงิน 5.3 โครงสร้างกฎกติกาและการกำกับดูแล

  46. 5.1การปรับโครงสร้างอำนาจทางเศรษฐกิจ5.1การปรับโครงสร้างอำนาจทางเศรษฐกิจ เอเชียจะมีอิทธิพลต่อเศรษฐกิจโลกมากขึ้น Unit: $ Billion โครงสร้างเศรษฐกิจโลกอยู่ในเงื้อมือของ SUPER SEVEN Source: Wikipedia: http://en.wikipedia.org/wiki/Sovereign_wealth_funds

  47. 5.2 การปรับโครงสร้างระบบการเงิน กลุ่มทุนจากเอเชียโดยเฉพาะอาหรับกำลังเข้าครอบงำ สถาบันในตลาดเงินตลาดทุนโลก มูลค่าการลงทุน (ล้านเหรียญ) 9,500 2,000 7,500 1,000 972 2,710 928 GIC Temasek Abu Dhabi Dubai Int’l capital Istithmar (Dubai) Borse Dubai Borse Dubai UBS Barclays Citigroup HSBC Standard Chartered London Stock Exchange NASDAQ % หุ้นส่วน ที่ซื้อ 10.0% 2.0% 4.5% 0.5% 3.0% 28.0% 20.0% กลุ่มทุน เป้าหมาย โครงสร้างของระบบการเงินโลกจะเปลี่ยนแปลงไป

  48. "We sent a message to Wall Street -The Party is Over!!!" นางแนนซี่ เพโลซี่ ประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐฯ กล่าวเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2551 5.3 การปรับโครงสร้างกฎกติกา และการกำกับดูแล การเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบการเงินการลงทุนโลกจากที่เคยเสรีตามแนวทางของ IMF และ FED จะถูกนำมาพิจารณาแก้ไข ด้วยการออกกฎกติกาที่มีความเข้มงวดกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน

  49. โลกจะต้องเผชิญกับความเสี่ยงใดในอนาคต?โลกจะต้องเผชิญกับความเสี่ยงใดในอนาคต?

  50. Current ความเสี่ยง 1. จากการค้าเสรี สู่การ“กีดกัน”และ“แบ่งแยก” NTB USTR

More Related