1 / 20

ชีวิตและวัฒนธรรมไทย

ชีวิตและวัฒนธรรมไทย. 3000-1301. วิชา ชีวิตและวัฒนธรรมไทย รหัส 3000-1301 อ. ขวัญตา จั่นอิ๊ด โทร 083-989-3239. จุดประสงค์รายวิชา. เพื่อเข้าใจถึงลักษณะของเอกลักษณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมไทย การพัฒนาและสืบทอดวัฒนธรรมไทย เพื่อให้มีเจตคติที่ดีในการสร้างจิตสาธารณะรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม.

angeni
Download Presentation

ชีวิตและวัฒนธรรมไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ชีวิตและวัฒนธรรมไทย 3000-1301

  2. วิชา ชีวิตและวัฒนธรรมไทยรหัส 3000-1301อ. ขวัญตา จั่นอิ๊ดโทร 083-989-3239

  3. จุดประสงค์รายวิชา • เพื่อเข้าใจถึงลักษณะของเอกลักษณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมไทย • การพัฒนาและสืบทอดวัฒนธรรมไทย • เพื่อให้มีเจตคติที่ดีในการสร้างจิตสาธารณะรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม

  4. เกณฑ์การประเมินผลการเรียนภาคปกติเกณฑ์การประเมินผลการเรียนภาคปกติ • จิตพิสัย 10 คะแนน • ทดสอบย่อย 20 คะแนน • รายงาน 10 คะแนน • งานส่ง 20 คะแนน • สอบกลางภาค 20 คะแนน • สอบปลายภาค 20 คะแนน

  5. ประมวลการสอน ภาคปกติ สัปดาห์ที่ 1 บทที่ 1 มนุษย์กับสังคม สัปดาห์ที่ 2 บทที่ 2 สังคมไทย สัปดาห์ที่ 3-4 บทที่ 3 วัฒนธรรม ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สัปดาห์ที่ 5-6 บทที่ 4 เอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย สัปดาห์ที่ 7 รายงานการละเล่นไทย สัปดาห์ที่ 8 สอบกลางภาคเรียน

  6. ประมวลการสอน ภาคปกติ สัปดาห์ที่ 10-11 บทที่ 5 ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย สัปดาห์ที่ 12-13 บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย+test สัปดาห์ที่ 14 บทที่ 7 พลเมืองดี สัปดาห์ที่ 15 บทที่ 8 จิตสาธารณะ สัปดาห์ที่ 16 ทบทวนบทเรียน สัปดาห์ที่ 17 สอบปลายภาคเรียน

  7. รายงานกลุ่ม 10คะแนน(สัปดาห์ที่ 7) เรื่อง การละเล่นของไทย เช่น งูกินหาง หมากเก็บ มอญซ่อนผ้า รีรีข้าวสาร ไม้โยกเยก ขี่ม้าส่งเมือง ปิดตาตีหม้อ ซ่อนหา โพงพาง เดินกะลา ปริศนาคำทาย สะบ้า เล่นว่าว ชักเย่อ ให้นักศึกษาจับกลุ่มๆละไม่เกิน 5 คน นำเสนอรายงานดังนี้ • รายงานเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ประโยชน์ที่ได้รับ • สาธิตวิธีการเล่น

  8. 1 บทที่ มนุษย์กับสังคม

  9. มนุษย์ หมายถึง สัตว์ที่รู้จักใช้เหตุผล สัตว์ที่มีจิตใจสูง สังคม หมายถึง กลุ่มคนขนาดใหญ่ที่มีอำนาจเหนือกลุ่มย่อย มีดินแดน สามารถเลี้ยงตนเองได้ และมีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง

  10. ความต้องการของมนุษย์ มาสโลว์ แบ่งความต้องการของมนุษย์ออกเป็น 5 ระดับ คือ ความต้องการทาง สรีรวิทยา ความต้องการความสำเร็จแห่งตน ความต้องการ ของมนุษย์ ความต้องการความมั่นคงและปลอดภัยของชีวิต ความต้องการที่จะมีชื่อเสียงเกียรติยศ ความต้องการทางสังคม

  11. ลักษณะสำคัญที่ส่งผลดีต่อมนุษย์ลักษณะสำคัญที่ส่งผลดีต่อมนุษย์ มี 2 อย่าง คือ 1. มนุษย์มีความสามารถในการสร้าง และใช้สัญลักษณ์เป็นเครื่องมือในการสื่อสาร 2. มนุษย์มีวัฒนธรรม

  12. สาเหตุที่มนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นสังคมมนุษย์สาเหตุที่มนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นสังคมมนุษย์ เพื่อเป็นที่ยอมรับของสังคม เพื่อสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน สาเหตุมี 3 อย่าง คือ เพื่อสร้างความเจริญก้าวหน้าให้กับตนเองและกลุ่ม

  13. องค์ประกอบของสังคม มีประชาชนจำนวนหนึ่ง สมาชิกประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในกรอบของสถาบันและ วัฒนธรรมอย่างเดียวกัน มีองค์ประกอบ 5 อย่าง คือ มีความสัมพันธ์ต่อกัน มีดินแดนที่ แน่นอน มีการกระทำต่อกันอย่างต่อเนื่องเป็นกิจวัตรประจำวัน

  14. หน้าที่ของสังคม 1. ผลิตสมาชิกใหม่และรักษาจำนวนสมาชิกให้อยู่ในระดับหนึ่งที่เหมาะสม 2. อบรมสมาชิกใหม่ให้สามารถเรียนรู้และปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคม 3. ดำรงรักษากฎระเบียบของสังคมไว้ ปกป้องคุ้มครองคนดี รักษากฎหมาย 4. ผลิต จำหน่าย จ่ายแจกสินค้าและบริการ

  15. การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม กระบวนการจัดระเบียบ มีส่วนประกอบ 3 ส่วน คือ บรรทัดฐาน สถานภาพ บทบาท

  16. สถาบันทางสังคม ( Institution ) หมายถึง กฎเกณฑ์หรือระเบียบแบบแผนของสังคม ที่ใช้เป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติหรือการติดต่อกัน และทำหน้าที่สนองความต้องการและความจำเป็นของสังคม

  17. สถาบันเศรษฐกิจ สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันสื่อสารมวลชน สถาบันการเมืองและ การปกครอง สถาบันนันทนาการ สถาบันทางสังคมที่สำคัญ มี 7 สถาบัน คือ

  18. โครงสร้างสังคมไทย โครงสร้างสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ของกลุ่มคนที่มีบรรทัดฐานของสังคมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวให้คนมาอยู่รวมกันเป็นสังคม อย่างสันติสุข

  19. การเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มของสังคมไทยการเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มของสังคมไทย • 1. ค่านิยมเรื่องวัตถุนิยม • 2. โครงสร้างสังคมจะเปลี่ยนแปลงจากสังคมชนบทไปเป็นสังคมเมืองมากขึ้น • 3. ความสัมพันธ์ในครอบครัวเปลี่ยนแปลงไป คนในครอบครัวไม่มีเวลาให้กัน • 4. สังคมไทยต้องพึ่งพิงเทคโนโลยีที่ทันสมัย และรับอิทธิพลจากตะวันตกมากขึ้น • 5. สังคมเกษตรกรรมจะลดน้อยลง

  20. 6. ความไม่เท่าเทียมภายในสังคมมีมากขึ้น 7. คนไทยจะเกิดความตื่นตัวและเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้น เนื่องจากอิทธิพลของสื่อ 8. ปัญหาการขยายตัวของเมือง 9. สถาบันการศึกษาจะเป็นในลักษณะผลิตคนเพื่อเข้าสู่สังคมอุตสาหกรรมมากขึ้น 10. ปัญหาทางสังคมจะหลากหลายและรุนแรงขึ้นกับคนทุกเพศทุกวัย อันเป็นผลเนื่องจากความเปลี่ยนทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

More Related