410 likes | 523 Views
Chapter 1 บทนำการสื่อสารข้อมูล (Intro to Data Communications). การสื่อสารข้อมูล. เหตุผลความจำเป็นการสื่อสาร ปัจจุบันการสื่อสารข้อมูลเข้ามามีบทบาทมาก เช่น ระบบธนาคาร 24 ชม. ระบบโทรศัพท์ ระบบเพจเจอร์ ธุรกิจต่างๆ มีการใช้ระบบเครือข่ายคอยสนับสนุนการสืบค้นข้อมูล ทำธุรกิจเพื่อ การแข่งขัน.
E N D
Chapter 1บทนำการสื่อสารข้อมูล (Intro to Data Communications)
การสื่อสารข้อมูล เหตุผลความจำเป็นการสื่อสาร • ปัจจุบันการสื่อสารข้อมูลเข้ามามีบทบาทมาก เช่น ระบบธนาคาร 24 ชม. ระบบโทรศัพท์ ระบบเพจเจอร์ ธุรกิจต่างๆ มีการใช้ระบบเครือข่ายคอยสนับสนุนการสืบค้นข้อมูล ทำธุรกิจเพื่อ การแข่งขัน
1. องค์ประกอบระบบการสื่อสาร
Message ข้อมูลที่ส่งออกไป • Sender , source อุปกรณ์ผลิตข้อมูล • Receiver , sink เป้าหมาย อุปกรณ์ปลายทางนำข้อมูลไปใช้ • Medium ตัวกลางนำส่งข้อมูลมีเส้นทางแน่ชัด • Protocol กฏเกณฑ์ ข้อตกลงในการสื่อสารข้อมูล
2. คุณสมบัติพื้นฐาน 3 ประการของการสื่อสารข้อมูล • Delivery • Accuracy • Timeliness
3. Computer Network • ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์(Computer Network) หมายถึงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปที่เป็นอิสระต่อกัน นำมาเชื่อมต่อถึงกันได้โดยไม่คำนึงถึงระยะทางระหว่างเครื่องทั้งสอง โดยใช้สายเคเบลธรรมดา สายเคเบิลใยแก้ว ใช้คลื่นไมโครเวฟ หรือใช้สัญญาณดาวเทียม
4. การใช้งานระบบเครือข่าย 4.1 งานประยุกต์ทางธุรกิจ (Business Applications) 4.2 เครือข่ายสำหรับคนทั่วไป (Home Applications) 4.3 ผู้ใช้สัญจร (Mobile Users) 4.4 ผลกระทบทางสังคม (Social Issues)
4.1 งานประยุกต์ทางธุรกิจ (Business Applications) มีวัตถุประสงค์ คือ • Resource sharing, Information sharing • Communication medium • E-commerce – B2B • E-commerce through Internet – B2C
4.2 เครือข่ายสำหรับคนทั่วไป (Home Applications) • การติดต่อข้อมูลข่าวสารจากระยะไกล (Access to remote information) e.g. e-banking, e-shopping, e-library, e-newspaper, etc. • การสื่อสารระหว่างบุคคล-ต่อ-บุคคล (Person-to-person communication) e.g. e-mail, instant messaging, chat room, etc. • ความบันเทิงส่วนบุคคล (Interactive entertainment) e.g. video on demand • การพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์ (Electronic commerce) e.g. B2C, G2C, C2C, P2P
การพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์ (Electronic commerce)
4.4 Social Issues • ความแตกแยกทางความคิดหรือมีความเข้าใจที่แตกต่างกันออกไปของคนกลุ่มต่างๆของสังคม เช่นข้อมูลทางการเมือง ข้อมูลที่เกี่ยวพันกับศาสนา • ข้อถกเถียงที่ยังคงไม่มีข้อยุติ เช่นสิทธิในการตรวจสอบข้อมูลของหน่วยงานรัฐหรือองค์กรเอกชน • ใช้เป็นสื่อลามกอนาจาร ก่อเกิดอาชญากรรม • โฆษณาชวนเชื่อ
5. การจัดประเภทของเครือข่าย 5.1 เทคโนโลยีสำหรับการถ่ายทอดข้อมูล (Transmission Technology) 5.1.1 การแพร่กระจาย (Broadcast Networks) 5.1.2 จุด - ต่อ - จุด(Point-to-Point Networks) 5.1.3 Client-server 5.1.4 peer-to-peer 5.2 ขนาดของเครือข่าย (Scale) 5.2.1 เครือข่ายเฉพาะพื้นที่ (Local Area Networks: LAN) 5.2.2 เครือข่ายในเขตเมือง (Metropolitan Area Networks:MAN) 5.2.3 เครือข่ายวงกว้าง (Wide Area Networks: WAN) 5.2.4 เครือข่ายส่วนตัว (Personal area network : PAN)
5.1.1 Broadcast Networks • มี 1 ช่องทางสื่อสาร คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายใช้งานร่วมกัน • ข่าวสารถูกจัดให้อยู่ในรูปของ packet เมื่อถูกส่งออกไปแล้วแพร่กระจายทั้งระบบ ใครที่เชื่อมต่อกับระบบสามารถนำ packet ไปใช้ได้ • จะมีการระบุชื่อผู้รับไว้ใน packet ซึ่งทุกคนต้องตรวจดู หากเป็นข่าวสารของผู้อื่นก็ไม่นำไปใช้ • การ broadcasting มีรหัสพิเศษแทนที่อยู่ของผู้รับข่าวสารใน packet ผู้รับแม้ไม่ใช่ที่อยู่ของตนก็สามารถนำข้อมูลไปใช้ได้ • Multicasting แบ่งเครือข่ายเป็นกลุ่มย่อย มีการกำหนดหมายเลขกลุ่มเป็นผู้รับ • เหมาะสำหรับเครือข่ายขนาดเล็ก
5.1.2 Point-to-Point Networks • เป็นการเชื่อมต่อระหว่างผู้ส่งข่าวกับผู้รับข่าว • เหมาะสำหรับเครือข่ายขนาดใหญ่ • บางครั้งเรียกว่า Unicasting • มีการส่งข้อมูลทั้งแบบต่อเนื่องและแบบที่เป็น - ถ้า แบบต่อเนื่อง จะต้องจองเส้นทางการสื่อสารระหว่างผู้ส่งและผู้รับระหว่างการส่งตลอดเวลา - ถ้า แบบ packet ข้อมูลที่อยู่ใน packet จะต้องระบุที่อยู่ของผู้รับแล้วจึงส่งเข้าไปในเครือข่าย packet จะได้รับการส่งต่อไปตามอุปกรณ์เลือกทางเดินข้อมูล (router) ซึ่งเชื่อมโยงระหว่างเครือข่ายกลุ่มต่างๆ จนกระทั่ง packet ถึงผู้รับ
Point-to-Point Networks ได้แก่เครือข่าย เครือข่ายสวิตช์ชิ่ง Switching Network แบ่งได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. Circuit Switching Network • เป็นระบบการส่งข้อมูลแบบดั้งเดิมผ่านเครือข่ายโทรศัพท์ (PSDN) โดยมีหลักการดังนี้ 1) เมื่อสถานี A ต้องการส่งข้อมูลให้กับ สถานี B จะต้องมีการสร้างเส้นทางเสียก่อน โดยที่ฝั่งที่รับข้อมูลจะต้องตอบว่าพร้อมรับข่าวสาร (Establishment/ Connection)
2) เมื่อสร้างเส้นทางการส่งข้อมูลเรียบร้อย ตลอดเวลาของการ สื่อสารจะใช้เส้นทางเดิมตลอด และไม่มีบุคคลอื่นมาใช้เส้นทาง นั้น 3) มีอัตราความเร็วในการส่งเท่ากันทั้งด้านรับและด้านส่ง 4) มีการทำ Error Control และ Flow Control ทุกๆชุมสาย 5) ในขณะทำการส่งข้อมูล ข้อมูลจะถูกส่งด้วยความเร็วคงที่ และไม่มีการหน่วงเวลา(Delay ) 6) เมื่อส่งข้อมูลเสร็จจะยกเลิกเส้นทางที่ได้เชื่อมต่อขึ้นมาเพื่อให้เครื่องอื่นได้ใช้เส้นทางได้
2. Packet Switching Network • เนื่องจากต้อง Share วงจรกัน เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ใดผู้หนึ่งผูกขาดการใช้งาน ต้องกำหนดขนาดข้อมูลสูงสุดที่ผู้ส่ง ส่งได้ในแต่ละครั้ง = MTU, Maximum Transfer Unit • ถ้าข้อมูลใหญ่กว่านั้น ต้องแบ่ง หรือตัดข้อมูลเป็น Packet ย่อยๆ แต่ละ Packet มีส่วนหัว นอกเหนือจาก Address/VC แล้ว จะต้องมี Sequence Number • กระทำโดย Protocol ผู้ใช้ (Application) ไม่ต้องทำ • นี่คือ Packet Swithching Network
Network จะจัดการ Packet สองแบบ (การทำงานของ Network ในระดับ Layer 3) • Datagram • Virtual circuit
การทำงานของ Datagram • Each packet treated independently • Packets can take any practical route • Packets may arrive out of order • Packets may go missing • Up to receiver(ปลายทาง) to re-order packets and recover from missing packets • สรุปแล้ว การทำงานของ Network ประเภทนี้จะไม่ Guarantee การส่งข้อมูล
การทำงานของ Virtual Circuit • Preplanned route established before any packets sent เส้นทางจะถูกกำหนดในช่วงการ Connection • Call request and call accept packets establish connection (handshake) กำหนด Connection ด้วยตัวเลข คือ VC Number • Each packet contains a virtual circuit identifier instead of destination address • No routing decisions required for each packet ดูจาก VC # ก็เพียงพอ • Clear request to drop circuit เมื่อจบ • Not a dedicated path แต่มองจากผู้ใช้เหมือน Circuit Switching
เปรียบเทียบการส่งทั้ง 3 แบบ
5.1.3 Client server • Server เป็นคอมพิวเตอร์ หรือ node ที่เก็บข้อมูลต่างๆ หรือเป็นแหล่งร่วมทรัพยากร และให้บริการข้อมูล อาทิ พวกโปรแกรม ปริ้นเตอร์ เป็นต้น • Client เป็น node ที่จะเข้าไปรับบริการ ข้อมูลรวมทั้งทรัพยากรในเครื่องเซิฟเวอร์ ซึ่ง client แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ - Thin จะทำหน้าที่ดึงข้อมูลอย่างเดียว - Fat จะดึงพร้อมกับทำการประมวลผลไปด้วย
5.1.4 Peer-to-Peer system ทุกเครื่องมีความสำคัญเท่ากัน ไม่มี server ในระบบเครือข่าย
การจัดประเภทโดยพิจารณาขนาดของเครือข่ายการจัดประเภทโดยพิจารณาขนาดของเครือข่าย
5.2.1 เครือข่ายเฉพาะพื้นที่ (LAN) • ขนาดเล็ก ใช้งานเฉพาะกลุ่ม ระยะทางไม่เกิน 2-3 ก.ม. • เวลาที่ใช้ในการรับส่งข้อมูลสามารถคำนวณได้ล่วงหน้าใกล้เคียงความเป็นจริง • ใช่สายเคเบิลชนิดเดียวต่อเชื่อมระบบเข้าด้วยกัน • ปกติมีความเร็ว 10 Mbps หรือ 100 Mbps • มีระยะเวลาในการรอคอยเฉลี่ยเพื่อส่งข้อมูล 100 sec • มีโอกาสที่จะเกิดข้อผิดพลาดน้อยมาก • โครงสร้างที่นิยมคือ Bus network และ Ring network , Star network
5.2.2 เครือข่ายในเขตเมือง(MAN) • มีลักษณะเช่นเดียวกับเครือข่ายเฉพาะพื้นที่แต่มีขนาดใหญ่กว่า • มีขีดความสามารถในการให้บริการทั้งรับ-ส่งและโทรศัพท์ไปพร้อมกันได้ ครอบคลุมถึง cable TV ด้วย • ระบบมีสายเคเบิลเพียง 1 หรือ 2 เส้น โดยไม่มีอุปกรณ์สลับเปลี่ยนช่องสัญญาณ (switching elements) • มาตรฐานที่ใช้ควบคุม IEEE 802.16
5.2.3 เครือข่ายวงกว้าง (WAN) • WAN (Wide Area Networks) เป็นเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้นไปอีกระดับหนึ่ง โดยเป็นการรวมกันทั้ง LAN และ MAN มาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่เครือข่ายเดียวกัน ดังนั้นเครือข่ายนี้จึงครอบคลุมพื้นที่กว้าง ซึ่งอาจจะครอบคลุมไปทั้งประเทศ ทั้งทวีป หรือทั่วโลก เช่น Internet ก็จัดว่าเป็นเครือข่าย WAN ประเภทหนึ่ง แต่เป็นเครือข่ายสาธารณะที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของทั้งหมด สำหรับเครือข่าย WAN ของบริษัทเอกชน เรียกว่า Enterprise Network
เครือข่ายวงกว้าง (WAN) • ขอบเขตการเชื่อมต่อครอบคลุมไปเป็นภูมิภาค • ระบบประกอบด้วยคอมพิวเตอร์หลักที่เรียกว่า hostcomputer ทำหน้าที่คอยให้บริการแก่ผู้ใช้ทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของกลุ่ม host จะเชื่อมต่อกับเครือข่ายย่อยซึ่งทำหน้าที่ให้บริการรับ-ส่งข้อมูลระหว่าง host ต่างๆ • ระบบเครือข่ายย่อยใน WAN ประกอบด้วยอุปกรณ์สำคัญ 2 อย่างคือ สายสื่อสาร (transmission line) และ อุปกรณ์สลับช่องสื่อสาร (switching element) • สายสื่อสารเรียกกันหลายชื่อ เช่น circuit, channel, trunk • อุปกรณ์สลับช่องสื่อสารเรียกกันต่างๆ ได้แก่ packet switching, nodes, intermediate system, data switching exchanges, router
5.2.4 Personal area network (PAN) • เครือข่ายส่วนตัว • มีขนาดไม่ใหญ่มาก ไม่กี่เมตร • เช่นPDAs,Notebook,Mobile ใช้อินฟราเรด,สัญญาณวิทยุ สื่อสารระหว่างกัน