230 likes | 360 Views
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในสมัยกรุงศรีอยุธยา. จัดทำโดย. 1. นางสาวปริญญารักษ์ จรเอ้กา เลขที่ 22 2. นางสาว พัทธนันท์ ศรีอ่อนทอง เลขที่ 25 3. นางสาวสุทธิดา ใส่ยะ เลขที่ 29 4. นางสาวอนงค์พร ทิศหล้า เลขที่ 30 5. นางสาว ณิศา ชล ประธานราษฎร์ เลขที่ 32
E N D
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในสมัยกรุงศรีอยุธยาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในสมัยกรุงศรีอยุธยา
จัดทำโดย 1.นางสาวปริญญารักษ์ จรเอ้กา เลขที่ 22 2.นางสาวพัทธนันท์ ศรีอ่อนทอง เลขที่ 25 3.นางสาวสุทธิดา ใส่ยะ เลขที่ 29 4.นางสาวอนงค์พร ทิศหล้า เลขที่ 30 5.นางสาวณิศาชล ประธานราษฎร์ เลขที่ 32 6.นางสาวศรีสกุล โพธิ เลขที่ 34 เสนอ ครูสายพินวงษารัตน์
ความสัมพันธ์กับสุโขทัยความสัมพันธ์กับสุโขทัย
ในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (อู่ทอง) แห่งกรุงศรีอยุธยาได้ยกกองทัพไปยึดเมืองชัยนาทจากอาณาจักรสุโขทัยไว้ได้ ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระมหาธรรมราชาลิไทแห่งสุโขทัยสุโขทัยได้ส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวายพระเจ้าอู่ทอง เพื่อขอเมืองชัยนาทคืน พระเจ้าอู่ทองจึงคืนเมืองชัยนาทกลับคืนให้กับสุโขทัยตามเดิมสุโขทัยจึงต้องยอมรับเป็นไมตรีกับกรุงศรีอยุธยา ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถอาณาจักรสุโขทัยเกิดการจลาจล เพราะล้านนาเข้ามาตีเมืองพิษณุโลกแต่ตีไม่ได้จึงไปตีเมืองกำแพงเพชร กรุงศรีอยุธยาจึงมาช่วยป้องกันเมืองไว้ได้และพระบรมไตรโลกนาถจึงมาประทับอยู่ที่พิษณุโลก และให้พระบรมราชาธิราชที่ 2 ราชโอรสปกครองกรุงศรีอยุธยาต่อมาพระบรมไตรโลกนาถเจริญสัมพันธไมตรีกับล้านนาทำให้สงครามยุติและสุโขทัยจึงรวมเป็นอาณาจักรเดียวกับกรุงศรีอยุธยา
เจดีย์ทรงระฆังคว่ำของ วัดพระศรีสรรเพชญเป็นเจดีย์ศิลปะแบบสุโขทัย
พม่ายกทัพมาตีไทยถึง 24 ครั้ง โดยสาเหตุของสงครามส่วนใหญ่มีดังนี้ 1.เกิดปัญหาเกี่ยวกับหัวเมืองชายแดนที่พม่าต้องการยึดให้ได้ เพื่อขยายอำนาจมายังอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา 2.ไทยกับพม่าในสมัยกรุงศรีอยุธยามีอำนาจเท่าเทียมกันจนกลายเป็นคู่แข่งทางการเมืองและเศรษฐกิจ โดยมีความสัมพันธ์ด้านสงครามไทยกับพม่าดังนี้ • -สงครามครั้งแรกก็คือศึกเชียงกราน พ.ศ.2081 ในสมัยพระไชยราชาธิราช กรุงศรีอยุธยาเสียเอกราชครั้งแรกแก่พม่าในปีพ.ศ.2112 ในสมัยพระเจ้ามหินทราธิราช
-สงครามสมเด็จพระศรีสุริโยทัยถูกพระเจ้าแปรฟันคอ • ขาดบนคอช้าง เนื่องจากพระองค์ไสช้างไปขวางพระเจ้าแปร • ไม่ให้ตามพระมหาจักรพรรดิทัน • -สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงกอบกู้เอกราชของไทยได้ • ในปี พ.ศ.2127 และปี 2135 พระนเรศวรมหาราชทรง • ทำยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชของพม่าจนได้ชัยชนะ • -ในปีพ.ศ.2310 ไทยเสียกรุงให้พม่าครั้งที่ 2ในสมัย • พระเจ้าเอกทัศ
การทำยุทธหัตถีระหว่างสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระมหาอุปราชแห่งพม่าการทำยุทธหัตถีระหว่างสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระมหาอุปราชแห่งพม่า
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรล้านนาความสัมพันธ์กับอาณาจักรล้านนา
ใน พ.ศ. 1893 กรุงศรีอยุธยาเริ่มขยายอำนาจออกไปยังบริเวณ • ที่อยู่รอบนอก เพื่อความมั่นคงของกรุงศรีอยุธยาและในปี • พ.ศ.1929 สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1(ขุนหลวงพะงั่ว) • ทรงเป็นพระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยาองค์แรกที่ไปตี • เชียงใหม่แต่ไม่สำเร็จ • หลังสงคราม พ.ศ.1929 แล้วกรุงศรีอยุธยาได้ทำสงครามกับ • ล้านนาอีกหลายครั้ง สงครามได้ดำเนินไประหว่าง พ.ศ.2003- • 2017 จึงยุติลงและทั้งสองฝ่ายเป็นไมตรีต่อกันพ.ศ.2050 • ล้านนายกทัพไปรุกรานหัวเมืองฝ่ายเหนือของกรุงศรีอยุธยา • สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 จึงยกทัพไปตีลำปาง
ครั้นสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชพม่าทำสงครามกับจีนครั้นสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชพม่าทำสงครามกับจีน • ล้านนาจึงมาพึ่งกรุงศรีอยุธยา ครั้นพม่าทำสงครามกับจีน • เสร็จล้านนาจึงไปเข้ากับพม่าอีก พระนารายณ์มหาราชจึงยก • ทัพมาตีล้านนาได้ ลำปาง ลำพูน เชียงใหม่ • พ.ศ. 2306 พม่ายกทัพมาตีเชียงใหม่ทำให้เชียงใหม่ต้องขอ • กองทัพจากกรุงศรีอยุธยามาช่วยแต่ไม่ทัน เชียงใหม่จึงตกเป็น • เมืองประเทศราชของพม่าจนกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า
ความสัมพันธ์กับลาว (ล้านช้าง)
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับลาวเป็นไปได้ด้วยดีกว่าประเทศความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับลาวเป็นไปได้ด้วยดีกว่าประเทศ • เพื่อนบ้านอื่นๆ ความสัมพันธ์เป็นไปลักษณะ “บ้านพี่เมือง • น้อง” จุดมุ่งหมายที่ไทยกับลาวมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันคือ • เพื่อต่อต้านพม่า • ในปี พ.ศ.2103 พระมหาจักรพรรดิของไทยและพระไชย • เชษฐาธิราชของลาวได้ทรงร่วมสร้าง“พระธาตุศรีสองรัก” • (ปัจจุบันอยู่ที่อำเภอด่านซ้ายจังหวัดเลย) เพื่อแสดง • ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
พระธาตุศรีสองรัก อ.ด่านซ้าย จ.เลย
ไทยกับเขมรมีความสัมพันธ์กันทั้งด้านวัฒนธรรมและการทำไทยกับเขมรมีความสัมพันธ์กันทั้งด้านวัฒนธรรมและการทำ • สงครามกัน ด้านการทำสงครามมีความสัมพันธ์กันดังนี้ • -ไทยกับเขมร ได้เริ่มทำสงครามตั้งแต่สมัยสมเด็จพระ • รามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทั้งนี้เขมรตกอยู่ภายใต้การ • ปกครองของไทยหลายครั้ง • -ในขณะที่ไทยเสียเอกราชหรือมีศึกสงคราม เขมรมักจะตั้งตัว • เป็นอิสระทำให้เกิดความยุ่งยากแก่ไทย • -การปกครองของเขมรไทยมักให้เจ้านายของเขมรปกครอง • กันเอง แต่มักจะเกิดการแย่งชิงราชสมบัติกันอยู่เสมอ
พระปรางค์วัดราชบูรณะเป็นสถาปัตยกรรมแบบเขมรที่มาเผยแพร่ในกรุงศรีอยุธยาพระปรางค์วัดราชบูรณะเป็นสถาปัตยกรรมแบบเขมรที่มาเผยแพร่ในกรุงศรีอยุธยา
ความสัมพันธ์ระหว่างกรุงศรีอยุธยากับชาติตะวันตกความสัมพันธ์ระหว่างกรุงศรีอยุธยากับชาติตะวันตก
ชาติตะวันตกที่เข้ามาติดต่อสัมพันธ์กับกรุงศรีอยุธยามีชาติตะวันตกที่เข้ามาติดต่อสัมพันธ์กับกรุงศรีอยุธยามี • จุดมุ่งหมายที่สำคัญ ได้แก่ • -ชาวตะวันตกที่มาติดต่อจะเริ่มด้วยการขอมีไมตรีทางการค้า • สร้างความเข้าใจและปฏิบัติต่อกันโดยสุจริต อยุธยาจึงได้รับ • ผลประโยชน์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลประโยชน์ทางด้านการค้า • ชาติตะวันตกที่เข้ามาติดต่อสัมพันธ์กับกรุงศรีอยุธยามี • จุดมุ่งหมายที่สำคัญ ได้แก่ • -ชาวตะวันตกที่มาติดต่อจะเริ่มด้วยการขอมีไมตรีทางการค้า • สร้างความเข้าใจและปฏิบัติต่อกันโดยสุจริต อยุธยาจึงได้รับ • ผลประโยชน์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลประโยชน์ทางด้านการค้า
-สร้างระบบคานอำนาจในหมู่ชาวตะวันตกก่อให้เกิดการ-สร้างระบบคานอำนาจในหมู่ชาวตะวันตกก่อให้เกิดการ • ถ่วงดุลอำนาจกัน ขณะเดียวกันก็สร้างความเข้มแข็งพร้อมที่ • จะป้องกันตนเองถ้าถูกชาติอื่นโจมตี
ขบวนแห่พระราชสาส์นของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชไปถวายพระเจ้าหลุยส์ที่14แห่งฝรั่งเศส