210 likes | 364 Views
การสำรวจปิโตรเลียมในประเทศไทย. นางสาว มัญชุฬี มัชฌิ กะ ID 54402627 สาขาเทคโนโลยีพลังงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. OUTLINE. การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย การสำรวจปิโตรเลียมกับการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม. การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม.
E N D
การสำรวจปิโตรเลียมในประเทศไทยการสำรวจปิโตรเลียมในประเทศไทย นางสาวมัญชุฬีมัชฌิกะ ID 54402627 สาขาเทคโนโลยีพลังงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
OUTLINE • การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม • ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย • การสำรวจปิโตรเลียมกับการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียมการสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม • การสำรวจทางธรณีวิทยา • การสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ • การเจาะสำรวจ
การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม(ต่อ)การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม(ต่อ) • การสำรวจทางธรณีวิทยา - เริ่มด้วยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสภาพธรณีวิทยาของพื้นที่และบริเวณใกล้เคียง - พื้นที่สำรวจเป็นพื้นที่บนบกนักธรณีวิทยาจะต้องศึกษาสภาพธรณีวิทยาของพื้นที่ การใช้ภาพถ่ายทางอากาศ และภาพถ่ายจากดาวเทียม
การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม(ต่อ)การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม(ต่อ) • การสำรวจทางธรณีวิทยา (ต่อ) - การตรวจวิเคราะห์อายุหิน การวิเคราะห์ตัวอย่างหินทางธรณีเคมี - วิเคราะห์คุณสมบัติทางกายภาพของหินการประเมินผล และการสำรวจทางธรณีวิทยา เจ้าหน้าที่สำรวจทางธรณีวิทยา ที่มา : http://guru.sanook.com/search/การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม
การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม (ต่อ) • การสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ - อาศัยหลักคุณสมบัติทางฟิสิกส์ของชั้นหินชนิดต่างๆ คุณสมบัติด้าน แม่เหล็กไฟฟ้า และคุณสมบัติในการเป็นตัวกลางของคลื่นชนิดต่างๆ - การเรียงลำดับชั้นหินโครงสร้างทางธรณีวิทยา โดยใช้เครื่องมือทาง ธรณีฟิสิกส์
การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม (ต่อ) • การสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ (ต่อ) - เทคนิคทางด้านธรณีฟิสิกส์ที่ใช้ในการสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม - การตรวจวัดค่าความเข้มสนามแม่เหล็กโลก - การตรวจวัดค่าความโน้มถ่วง - การตรวจวัดคลื่นไหวสะเทือนของชั้นหิน การสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ ที่มา : http://guru.sanook.com/search/การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม
การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม (ต่อ) • การเจาะสำรวจ - เพื่อหาข้อมูลทางธรณีวิทยาเกี่ยวกับลำดับชั้นหินใต้พื้นผิวลึกลงไปและ ตรวจสอบลักษณะตัวอย่างหิน เพื่อยืนยันลักษณะโครงสร้างทาง ธรณีวิทยาใต้ดินและค้นหาปิโตรเลียมหรือร่องรอยของปิโตรเลียม การเจาะสำรวจปิโตรเลียมบริเวณพื้นที่บนบก ที่มา : http://guru.sanook.com/search/การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม
การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม (ต่อ) • การเจาะสำรวจ (ต่อ) - เพื่อกำหนดขอบเขตที่แน่นอนของแหล่งปิโตรเลียม ปริมาณการไหล และปริมาณสำรองของปิโตรเลียมในแหล่งกักเก็บ - เพื่อการประเมินศักยภาพ และสมรรถนะของการผลิตปิโตรเลียมใน เชิงพาณิชย์
ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทยประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย • ปี พ.ศ. 2464 – 2503 - เมืองฝางได้นำน้ำมันดิบมาจ่ายเป็นส่วย - พ.ศ. 2464 จ้างนักธรณีวิทยามาสำรวจหาปิโตรเลียมที่แหล่งฝาง - พ.ศ. 2465 จ้างช่างเจาะมาทำการเจาะสำรวจปิโตรเลียม - พ.ศ. 2479 – 2487 กรมทางหลวงได้ดำเนินการขุดเจาะเพื่อหาชั้นทรายน้ำมัน - พ.ศ. 2492 กรมทรัพยากรธรณีสำรวจและขุดเจาะหลุมปิโตรเลียมที่แหล่งฝาง - พ.ศ. 2494 กรมทรัพยากรธรณีขุดเจาะหลุมปิโตรเลียมเพิ่ม 2 หลุม
ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย(ต่อ)ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย(ต่อ) • ปี พ.ศ. 2464 – 2503 (ต่อ) - พ.ศ. 2496 เจาะเพิ่ม 1 หลุม พบชั้นน้ำมันและทดลองผลิตน้ำมัน - พ.ศ. 2497 หยุดการผลิต - พ.ศ. 2498-2499 ได้ทำการผลิตน้ำมันดิบ 3 หลุมจาก 9 หลุมที่พบน้ำมัน - พ.ศ. 2499 กรมพลังงานทหารได้รับโอนกิจการน้ำมันจากฝางไปดำเนินงานต่อ - พ.ศ. 2500 กรมทรัพยากรธรณีย้ายแท่นเจาะจากฝางมาที่บางปะอินและหยุดซ่อม เนื่องจากเครื่องเจาะชำรุด
ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย(ต่อ)ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย(ต่อ) • ปี พ.ศ. 2504-2523 - พ.ศ. 2504 รัฐบาลได้เปิดโอกาสให้เอกชนยื่นขอสิทธิในการสำรวจและผลิต ปิโตรเลียม - พ.ศ. 2505 บริษัท Unocal ได้รับสิทธิการสำรวจและผลิตปิโตรเลียมในภาคอีสาน - พ.ศ. 2508 ประเทศไทยเริ่มกำหนดเส้นสกัดไหล่ทวีปทางด้านอ่าวไทย - พ.ศ. 2509 บริษัท กัลฟ์ออยล์ ได้รับสิทธิการสำรวจและผลิตปิโตรเลียมใน กรุงเทพฯและปริมณฑล
ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย(ต่อ)ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย(ต่อ) • ปี พ.ศ. 2504-2523 (ต่อ) - พ.ศ. 2510 รัฐบาลได้เปิดโอกาสให้เอกชนยื่นขอสิทธิในการสำรวจและผลิต ปิโตรเลียมในเขตอ่าวไทย - พ.ศ. 2512 บริษัท กัลฟ์ออยล์ทำการเจาะหลุมสำรวจปิโตรเลียมบริเวณท่าเรือ คลองเตย - พ.ศ. 2514 พบปิโตรเลียม สำหรับหลุมเจาะหลุมแรกในอ่าวไทยและมีการสำรวจ ปิโตรเลียมในทะเลอันดามัน
ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย(ต่อ)ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย(ต่อ) • ปี พ.ศ. 2504-2523 (ต่อ) - พ.ศ. 2515-2530 มีการสำรวจธรณีฟิสิกส์ วิธีวัดคลื่นไหวสะเทือนแบบ 2 มิติ - พ.ศ. 2516 พบก๊าซธรรมชาติและก๊าซธรรมชาติเหลว จากหลุมเจาะในอ่าวไทย - พ.ศ. 2518 เจาะหลุมประเมินหลุมแรกของประเทศเพื่อพิสูจน์ศักยภาพของ แหล่งก๊าซ
ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย(ต่อ)ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย(ต่อ) • ปี พ.ศ. 2524 – ปัจจุบัน - พ.ศ. 2522 บริษัท Thai Shell และบริษัทEsso Exploration Inc. ได้รับสัมปทาน ในการสำรวจปิโตรเลียมบนบก - พ.ศ. 2524 พบน้ำมันดิบที่ จ. สุโขทัย และ จ. กำแพงเพชร - พ.ศ. 2528 รัฐบาลไทยได้จัดตั้งบริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม - พ.ศ. 2539 ได้สำรวจวัดคลื่นไหวสะเทือนแบบ 2 มิติ และเจาะสำรวจ 5 หลุม - ปัจจุบัน มีผู้ได้รับสัมปะทาน 28 สัมปทาน แปลงสำรวจ 37 แปลง มีแหล่ง ปิโตรเลียมไม่น้อยกว่า 30แหล่ง
การสำรวจปิโตรเลียมกับการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมการสำรวจปิโตรเลียมกับการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม • กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติได้พิจารณาจัดทำข้อกำหนด มาตรฐาน ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เป็นแนวทางปฏิบัติสำหรับผู้รับสัมปทาน - การกำจัดเศษดิน หินจากหลุมเจาะ - การบำบัดน้ำทิ้ง - การกำจัดน้ำทิ้งที่ปนเปื้อนน้ำมัน - การกำหนดมาตรฐานน้ำทิ้ง
สรุป • ปิโตรเลียมเป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญของโลก และเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดสิ้น การกำเนิดและการสะสมตัวต้องใช้ระยะเวลานาน หลายสิบล้านปี ดังนั้นควรพิจารณาการใช้ประโยชน์ ให้คุ้มค่าที่สุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น • ต้องรักษาฟื้นฟูคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้อยู่ในสภาพที่ดี ควบคู่ไปกับการสำรวจและพัฒนาปิโตรเลียม
สรุป (ต่อ) • เทคนิคการสำรวจได้รับการพัฒนา ทั้งทางด้านเครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการ ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ย่นระยะเวลาการทำงาน และลดค่าใช้จ่าย เพื่อค้นหาแหล่งปิโตรเลียม ให้ทันกับความต้องการใช้ของมนุษย์ • การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลการสำรวจธรณีฟิสิกส์ โดยเฉพาะการวัดคลื่นไหวสะเทือน แบบ 3 มิติ ทำให้ได้รายละเอียดของโครงสร้างแหล่งธรณีที่คาดว่าจะมีปิโตรเลียมกักเก็บอยู่ หรือการสร้างแบบจำลองเพื่อให้เข้าใจถึงสภาวะแวดล้อม ซึ่งการกำเนิดปิโตรเลียมเป็นการลดความเสี่ยงในการลงทุน
Reference • http://guru.sanook.com/search/การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม • http://teenet.cmu.ac.th/sci/fossil03.php • http://www.oknation.net/blog/print.php?id=442488 • http://www.dmf.go.th/dmfweb/index.php?option=com_knowlage&view=elearn&task=detail&id=1&id_less=1&Itemid=7&lang=en • http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK24/chapter7/t24-7-l2.htm • http://www.thaigaming.com/general-discussion/943.htm