400 likes | 740 Views
สถานการณ์โรคติดต่อ จังหวัดอุบลราชธานี. วันที่ 31 กรกฎาคม 2557. ประเด็นสำคัญ. ผู้ป่วยมาลาเรีย 3,815 ราย อัตราป่วย 210.1 ต่อแสน ปชก. เสียชีวิต 2 ราย ที่อำเภอนาจะ หลวย อัตราป่วยสูงเป็นลำดับที่ 2 ของประเทศรองจากจังหวัดยะลา ( แต่มีจำนวนผู้ป่วยมากที่สุดในประเทศไทย)
E N D
สถานการณ์โรคติดต่อ จังหวัดอุบลราชธานี วันที่31กรกฎาคม 2557
ประเด็นสำคัญ • ผู้ป่วยมาลาเรีย 3,815 ราย อัตราป่วย 210.1 ต่อแสน ปชก. • เสียชีวิต 2 ราย ที่อำเภอนาจะหลวย • อัตราป่วยสูงเป็นลำดับที่ 2 ของประเทศรองจากจังหวัดยะลา • (แต่มีจำนวนผู้ป่วยมากที่สุดในประเทศไทย) • พื้นที่การระบาดคือ อำเภอนาจะหลวย (เขตเทศบาล ต.นาจะหลวย) อ.บุณฑริก (ตำบลห้วยข่า) และ อ. น้ำยืน • ขอความร่วมมือทั้งสามอำเภอเร่งประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้เรื่อง • การป้องกันแก่กลุ่มเสี่ยงที่เข้าป่า และการมาตรวจรักษาเร็ว • ที่โรงพยาบาล /คลินิกมาลาเรียคลินิกจัดหาเวชภัณฑ์ให้เพียงพอ • ให้ อสม. ติดตามผู้ป่วยให้รับประทานยาสม่ำเสมอ ให้ครบทุกคน ที่มา : ข้อมูลมาลาเรียจาก Biophics ณ วันที่ 24 กค.57
ประเด็นสำคัญ • ผู้ป่วยไข้เลือดออก 165 ราย อัตราป่วย 9.09 ต่อแสน ปชก. เสียชีวิต 2 รายที่อำเภอโขงเจียม ขอให้เร่งรัดการควบคุมโรคให้เร็วภายใน 24 ชม. และให้มีคุณภาพ (HI/CI = 0) • สถานการณ์โรคตาแดง 5,432 ราย อัตราป่วย 296.5 ต่อแสน ปชก. มีแนวโน้มสูงขึ้นในเดือนกรกฎาคม ซึ่งเป็นช่วงฝนตกชุก • หากมีการระบาดเป็นกลุ่มก้อนให้เร่งสอบสวนควบคุมโรคภายใน 24 ชม. เน้นการล้างมือด้วยสบู่และน้ำ การคัดแยกผู้ป่วย งดการสัมผัสผู้อื่น การหยุดเรียน หยุดงาน จนกว่าจะหาย
ประเด็นสำคัญ • ผู้ป่วยโรคมือเท้าปาก 709 ราย อัตราป่วย 38.6 ต่อแสน ปชก. • จำนวนสูงเกินค่ามัธยฐาน มีแนวโน้มผู้ป่วยสูงขึ้น ขอให้ทุก • อำเภอเร่งรัดการป้องกันควบคุมโรคอย่างต่อเนื่อง เน้นกิจกรรม • การล้างมือในโรงเรียน และศูนย์เด็กเล็ก การคัดแยกผู้ป่วย • และการปิดห้องเรียนทำความสะอาด 7 วัน • ผลงานวัคซีนไข้หวัดใหญ่ เป้าหมาย 89,831 คน ฉีด/กรอกได้ • 68,439 คน (ร้อยละ 76.19) ขอให้ทุกอำเภอเร่งรัดการกรอก • ผลงานในเว้ปไซต์สปสช. (1 พค.—30 กย.57)
จำนวนผู้ป่วยโรคมาลาเรีย ประเทศไทยปี 2557 จำแนกรายจังหวัด ระหว่างวันที่ 1 มค.– 24 กค.57 จ.อุบลฯ 3,815 ราย เสียชีวิต 2 ราย อัตราป่วย 210.1 ต่อแสน ปชก. ที่มา : Biophicsวันที่ 24 กค.57
จำนวนผู้ป่วยมาลาเรีย จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2557 เปรียบเทียบกับ ปี 2556 และค่า Median 5 ปีย้อนหลัง รวม 3,815 ราย
อัตราป่วยโรคมาลาเรีย จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2557 จำแนกรายอำเภอ (วันที่ 1 มค.- 24 กค.57) อัตราป่วยต่อแสน ปชก.
จำนวนผู้ป่วยโรคมาลาเรีย จังหวัดอุบลราชธานีปี 2557 จำแนกรายอำเภอ ระหว่างวันที่ 1 มค.– 24 กค.57
จำนวนผู้ป่วยโรคมาลาเรีย อำเภอบุณฑริก ปี 2557 จำแนกรายตำบล ระหว่างวันที่ 1 มค.– 24 กค.57
จำนวนผู้ป่วยโรคมาลาเรีย ต.ห้วยข่า อ.บุณฑริก ปี 2557 จำแนกรายหมู่บ้าน ระหว่างวันที่ 1 มค.– 24 กค.57
จำนวนผู้ป่วยโรคมาลาเรีย อ.นาจะหลวย ปี 2557 จำแนกรายตำบล ระหว่างวันที่ 1 มค.– 24 กค.57
จำนวนผู้ป่วยโรคมาลาเรีย ต.นาจะหลวย ปี 2557 จำแนกหมู่บ้าน ระหว่างวันที่ 1 มค.– 24 กค.57
แผนที่อัตราป่วยโรคมาลาเรีย จ.อุบลราชธานี ปี 2557 ที่มา: รง.506: 24กค.57
ร้อยละผู้ป่วยโรคมาลาเรีย จำแนกตามกลุ่มอายุจังหวัดอุบลราชธานี ปี 2557 ร้อยละ 82 อาชีพหาของป่า (ตัดไม้/หาเห็ด) ร้อยละ
มาตรการป้องกันควบคุมโรคมาตรการป้องกันควบคุมโรค • ปี 2557 มีประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าป่าเพื่อหาของป่าตัด • ไม้ และเก็บของป่า เห็ดป่า มากกว่าทุกปีที่ผ่านมา • อำเภอชายแดน ควรเร่งประชาสัมพันธ์ ให้สุขศึกษา กลุ่มเสี่ยงที่เข้าป่า และเมื่อมีไข้หรือสงสัย ให้รีบมาตรวจเลือดมาลาเรียทันที • แจกยาทากันยุง มุ้งชุบสารเคมี เปลนอนมีมุ้งครอบ • แก่กลุ่มเสี่ยงให้ครอบคลุม • รพ. ทุกแห่งทบทวนมาตรฐานการรักษามาลาเรียให้เป็นไปตามแนวทางเดียวกัน • สนับสนุนและจัดชื้อเวชภัณฑ์ให้เพียงพอ
แผนที่อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ประเทศไทยปี 2557 ระหว่างวันที่ 1 มค.– 25 กค.2557 • ประเทศไทย • ผู้ป่วยรวม 14,145 ราย • อัตราป่วย 22.3 ต่อแสน ปชก. • เสียชีวิต 17 ราย (0.12%) • จ.อุบลราชธานี • ผู้ป่วยรวม 165 ราย • อัตราป่วย 9.09 ต่อแสน ปชก. • เสียชีวิต 2 ราย ที่ อ.โขงเจียม • อัตราป่วยตาย 1.2 % ที่มา: สำนักระบาดวิทยา : 25 กค.57
จังหวัดที่อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกสูงสุด 5 อันดับแรก ในประเทศไทยปี 2557 ที่มา: สำนักระบาดวิทยา : 25 กค.57
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2557 จำแนกรายเดือนเปรียบเทียบกับปี 2556 และค่าเป้าหมายรายเดือน จำนวนผู้ป่วย (ราย) จำนวนผู้ป่วยไม่เกิน ค่าเป้าหมาย
อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดอุบลราชธานี ปี 2557 จำแนกรายอำเภอ (วันที่ 1 มค.- 25 กค.57) อัตราป่วยต่อแสน ปชก.
อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2557 ที่มา: รง.506: 25 กค.57
พื้นที่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก จ.อุบลราชธานี ใน 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา
มาตรการเร่งรัดการควบคุมโรค จากปลัดกระทรวงสาธารณสุข • ใช้มาตรการ 3-3-1 • - รพช. / รพศ. แจ้งผู้ป่วย/สงสัยไข้เลือดออก ให้ • รพ.สต. ทราบ ภายใน 3 ชม. (ไม่เว้นวันหยุดราชการ) • - จนท./อสม. สอบสวนโรคภายใน 3 ชม. • - รพ.สต./ อปท. /อสม./ ชุมชน ร่วมมือกันควบคุมโรคให้แล้วเสร็จภายใน 1 วัน เน้นคุณภาพ HI ,CI = 0
โรคตาแดง Haemorrhagic conjunctivitis
แผนที่อัตราป่วยโรคตาแดง ประเทศไทยปี 2557 ระหว่างวันที่ 1 มค.– 25 กค.2557 • ประเทศไทย • ผู้ป่วยรวม 84,278 ราย • อัตราป่วย 132.6 ต่อแสน ปชก. • ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต • จ.อุบลราชธานี • ผู้ป่วยรวม 5,424 ราย • อัตราป่วย 298.7 ต่อแสน ปชก. • ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต ที่มา: สำนักระบาดวิทยา : 25 กค.57
จำนวนผู้ป่วยตาแดง ปี 2557 เปรียบเทียบกับ ปี 2556 และค่า Median 5 ปีย้อนหลัง
สถานการณ์โรคตาแดง • อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง 1 : 1.24 • พบการระบาดในกลุ่มนักเรียนประถมศึกษา อำเภอเมือง วารินชำราบ สำโรง เมือง น้ำขุ่น • มีแนวโน้มสูงขึ้นในช่วงที่มีภาวะอุทกภัย
แผนที่อัตราป่วยโรคตาแดง จ.อุบลราชธานี ปี 2557 ที่มา: รง.506: 25กค.57
อำเภอที่อัตราป่วยโรคตาแดงสูงสุด5 อันดับแรก จ.อุบลราชธานี ปี 2557
กิจกรรมที่ต้องเร่งรัดดำเนินการในพื้นที่เสี่ยงกิจกรรมที่ต้องเร่งรัดดำเนินการในพื้นที่เสี่ยง • การคัดแยกผู้ป่วยในห้องเรียนทุกวัน ให้หยุดโรงเรียนจนหาย งดการสัมผัสและคลุกคลีผู้ป่วย งดใช้ผ้าเช็ดหน้าและของใช้ร่วมกับผู้ป่วย • การรณรงค์ล้างมือด้วยสบู่ และน้ำสะอาด ในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกแห่ง • การปิดห้องเรียน หรือ โรงเรียน หากพบการระบาดตาแดงวงกว้าง • รพ.ทุกแห่งให้สำรองยาหยอดตาให้เพียงพอ
แผนที่อัตราป่วยโรคมือเท้าปาก ประเทศไทยปี 2557 ระหว่างวันที่ 1 มค.– 25 กค.2557 • ประเทศไทย • ผู้ป่วยรวม 34,834 ราย • อัตราป่วย 54.8 ต่อแสน ปชก. • ไม่เสียชีวิต • เป็นเด็กต่ำกว่า 5 ปี ร้อยละ 95 • จ.อุบลราชธานี • ผู้ป่วยรวม 1,369 ราย • อัตราป่วย 75.3 ต่อแสน ปชก. • ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต ที่มา: สำนักระบาดวิทยา : 25 กค.57
จำนวนผู้ป่วยโรคมือเท้าปากปี 2557 เปรียบเทียบกับ ปี 2556 และค่า Median 5 ปีย้อนหลัง
แผนที่อัตราป่วยโรคมือเท้าปาก จ.อุบลราชธานี ปี 2557 ที่มา: รง.506: 25กค.57
อำเภอที่อัตราป่วยโรคมือเท้าปากสูงสุด5 อันดับแรก จ.อุบลราชธานี ปี 2557
กิจกรรมที่ต้องเร่งรัดดำเนินการกิจกรรมที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ • การรณรงค์ล้างมือด้วยสบู่ในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนทุกแห่ง • การคัดแยกผู้ป่วยในห้องเรียนทุกวัน ให้หยุดโรงเรียน และสวมหน้ากากอนามัยเมื่อป่วย • การปิดห้องเรียน ทำความสะอาด หากพบผู้ป่วย • 2 รายขึ้นไปภายใน 7 วัน • 4. ทีม SRRT ลงสอบสวน ควบคุมโรคให้เร็ว ภายใน 24 ชม.