1 / 21

สถานการณ์แนวโน้มของโรคซิฟิลิส ในข้าราชการตำรวจชาย

สถานการณ์แนวโน้มของโรคซิฟิลิส ในข้าราชการตำรวจชาย ที่เข้ารับการตรวจระหว่างปี พ . ศ . 2540 ถึง 2549. พันตำรวจโท หญิง กิตินภา นภากร งานภูมิคุ้มกันวิทยา กลุ่มงานพยาธิวิทยา โรงพยาบาลตำรวจ. Material and Method.

alvin-grant
Download Presentation

สถานการณ์แนวโน้มของโรคซิฟิลิส ในข้าราชการตำรวจชาย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถานการณ์แนวโน้มของโรคซิฟิลิส ในข้าราชการตำรวจชาย ที่เข้ารับการตรวจระหว่างปี พ.ศ. 2540ถึง 2549 พันตำรวจโท หญิง กิตินภา นภากร งานภูมิคุ้มกันวิทยา กลุ่มงานพยาธิวิทยา โรงพยาบาลตำรวจ

  2. Material and Method

  3. ผลการตรวจโรคซิฟิลิส ของข้าราชการตำรวจชาย ทั้งในส่วนของ OPD และ IPD ซึ่งถูกเก็บรวบรวม ตั้งแต่ มกราคม 2540 ถึง ธันวาคม 2549 โดยขั้นตอนการตรวจโรคซิฟิลิส ดังนี้ 1.ใช้ Clotted blood ตรวจด้วยวิธี TPHA หรือ TP-PA screening test เมื่อผลการทดสอบเป็นลบให้รายงานผลเป็นลบ เมื่อผลการทดสอบเป็นบวกให้นำมาตรวจระยะของโรค(disease activity)โดยวิธีRPR test โดยหา RPR titer แล้วรายงานผลการตรวจทั้งสองวิธีเพื่อให้แพทย์ทำการรักษาต่อไป Indicator คืออัตราความชุก ( Prevalence rate) หรือ ปริมาณการติดเชื้อโรคซิฟิลิสของตำรวจชาย ซึ่งให้ผล RPR test เป็นpositive และ ให้ผล Qualitative TPHA หรือ Qualitative TP-PA เป็นpositive ต่อ ตำรวจที่เข้ารับการตรวจ 100 นาย (infection number per 100 person)

  4. Result

  5. ตารางที่ 1 ผลการตรวจการติดเชื้อโรคซิฟิลิสของข้าราชการตำรวจชายในปีพ.ศ. 2540 ถึง2549

  6. Number of VDRL Positive Year รูปที่1. จำนวนข้าราชการตำรวจชายที่ได้รับผลบวกในการตรวจการติดเชื้อโรคซิฟิลิสระหว่างปีพ.ศ. 2540ถึง 2549

  7. ตารางที่ 2 อัตราการติดเชื้อโรคซิฟิลิสต่อข้าราชการตำรวจชาย 100 คน ระหว่างปีพ.ศ. 2540ถึง 2549

  8. Infection rate (no. pos/ 100 persons) Year รูปที่ 2 อัตราความชุกของการโรคซิฟิลิสต่อข้าราชการตำรวจชาย 100 คน ระหว่างปีพ.ศ. 2540 ถึง 2549

  9. Discussion

  10. อัตราความชุกของโรคซิฟิลิส ในกลุ่มข้าราชการตำรวจชายมีค่า 2.48ถึง 0.98ต่อตำรวจ100 นาย • เปรียบเทียบกับอัตราความชุกของโรคซิฟิลิสในการศึกษาของ Bayrer C. et.al. • ศึกษาระบาดวิทยาของการติดเชื้อโรคเอดส์และซิฟิลิสในภาคเหนือของไทยระหว่าง2541-2544 • โดยกลุ่มตัวอย่างคือ ชายและหญิงชาวบ้าน อายุ 18-35ปี จำนวน 2,564และ 3,907คนตามลำดับ • พบว่าอัตราความชุกของโรคซิฟิลิสของชายชาวบ้านเป็น2.7คนต่อชาย 100คน • จะเห็นได้ว่าข้าราชการตำรวจชายนับเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการแพร่เชื้อโรคต่ำกว่า

  11. ไม่สามารถเปรียบเทียบกับข้อมูลผลการเฝ้าระวัง สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข • อัตราป่วยด้วยโรคซิฟิลิสต่อแสนประชากรมีผลแตกต่างจากการศึกษาครั้งนี้ซึ่งรายงานเป็นอัตราการติดเชื้อ • ข้อมูลจากการศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้จากการตรวจข้าราชการตำรวจชายที่เข้ามารับการตรวจโดยสมัครใจ • ซึ่งกลุ่มนี้อาจมีทั้งพวกที่มีอาการหรือไม่มีอาการ แต่ผู้ที่ไปตรวจที่หน่วยงานสาธารณสุข สำนักระบาดวิทยา • กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ส่วนมากจะเป็นผู้ป่วยที่มีอาการของโรคซิฟิลิส

  12. การเพิ่มขึ้นของอัตราความชุกของโรคซิฟิลิสในปี 2549 อาจเป็นตัวชี้ให้เห็นถึงการไม่ได้เข้าถึงการ • รณรงค์การให้ข้อมูลทางสาธารณสุขเกี่ยวกับการป้องกันการติดเชื้อโรคทางเพศสัมพันธ์หรือโครงการที่ให้ • ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการติดเชื้อโรคทางเพศสัมพันธ์

  13. ส่วนผลการตรวจ RPR titer ที่ให้ค่า titer น้อยกว่า 1:8 • เนื่องจากข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้เป็นข้อมูลทุติยภูมิ • คนไข้อาจอยู่ในระยะ primary, latent หรือ late syphilis ก็ได้ • ดังนั้นจึงไม่ทราบอาการของผู้ป่วย และระยะของโรคของผู้ป่วย • ผลการศึกษา การตรวจ RPR test ได้ titer มากกว่า 1:8 ซึ่งพบ false positiveในระดับtiter นี้ได้น้อย • และมีความเป็นไปได้สูงที่จะเป็นระยะ secondary syphilis • พบว่า 7ใน 8 นาย(87.5%) เป็นตำรวจชั้นประทวนและนายตำรวจชั้นผู้น้อยยศ ร้อยตำรวจตรี • ที่เหลือ 1 ใน 8 นาย (12.5%) เป็นนายตำรวจชั้นผู้ใหญ่ยศ พ.ต.ต • นั่นคือควรมีการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคซิฟิลิสแก่ตำรวจชั้นผู้น้อยให้มากขึ้นกว่าเดิม

  14. THANK YOU

  15. ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2540ถึง 2549 มีข้าราชการตำรวจชายเข้ารับการตรวจการติดเชื้อโรคซิฟิลิสเป็นจำนวนทั้งสิ้น 8141 ราย จากปีพ.ศ. 2540 ถึง 2544 มีจำนวนผู้ติดเชื้อลดลงจาก17รายเป็น12ราย และเพิ่มขึ้นในปีพ.ศ. 2545 เป็น 22ราย และลดลงอีกครั้งหนึ่งจากปีพ.ศ. 2545 ถึง 2548 จาก 22รายเป็น 7ราย และในปีพ.ศ. 2549 จำนวนผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นจากปีพ.ศ. 2548เป็น 22รายดังแสดงในรูปที่ 1. จากในปีพ.ศ. 2540 ถึง 2542 อัตราการติดเชื้อต่อ 100คน เพิ่มจาก 1.93 เป็น 2.48 ต่อ 100คน ต่อจากนั้นในปีพ.ศ. 2543 ถึง 2546 อัตราการติดเชื้อลดลงและคงตัวอยู่ในช่วง 1.94 ถึง1.95 ต่อ 100คน และในปีพ.ศ. 2547 และ 2548 อัตราการติดเชื้อลดต่ำลงอีกครั้งหนึ่งและค่อนข้างคงที่อยู่ในช่วง 1.07 ถึง 0.98 ต่อ 100คน ส่วนในปีพ.ศ. 2549 อัตราการติดเชื้อกลับเพิ่มขึ้นจากเดิม 0.98 เป็น 1.83 ต่อ 100คนดังแสดงในตารางที่2 และ รูปที่2 ตามลำดับ

  16. False Positive in RPR • -collagen vascular dis. • -intravenous drug user • Active malignancy • TB, Malaria, • Viral and Rickettsia Dis.

  17. 2. การตรวจหา antibody titer ของผู้ป่วยโดยวิธี Qualitative TP-PA Treponema Pallidum Passive Particle Agglutination (โดยย่อ) ทำการเจือจางซีรั่มผู้ป่วยในmicrotiter plateก้นกลม จำนวน 12 หลุม โดยหลุมแรกใส่น้ำยาเจือจาง ซีรั่ม 100 ml และใส่น้ำยาเจือจางซีรั่ม 25 mlลงในหลุมที่ 2 จนถึงหลุมที่12 ใส่ซีรั่ม 25 mlในหลุมแรก (dilution 1:5) ต่อจากนั้นทำ serial dilution ด้วยปริมาตร 25 ml ตั้งแต่หลุมที่ 2 จนถึงหลุมที่12 หยด unsensitized particle 25 mlในหลุมที่ 3 และหยด sensitized particle 25 mlลงในหลุมที่4ถึงหลุมที่12 คิดเป็น titer ตั้งแต่หลุมที่ 4 ถึง 12 คือ 80 ถึง 20480 ผสมปฏิกิริยาอย่างดี ปิดถาด รออ่านผลเป็นเวลาสองชั่วโมง

More Related