1 / 67

ความรู้พื้นฐานและการปฏิบัติตาม

ความรู้พื้นฐานและการปฏิบัติตาม. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540. วิทยากรผู้บรรยาย. นายพงศ์ศักดิ์ ชุมสาย ณ อยุธยา (วิทยากรเครือข่ายประจำสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี).

alva
Download Presentation

ความรู้พื้นฐานและการปฏิบัติตาม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความรู้พื้นฐานและการปฏิบัติตามความรู้พื้นฐานและการปฏิบัติตาม พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 วิทยากรผู้บรรยาย นายพงศ์ศักดิ์ ชุมสาย ณ อยุธยา (วิทยากรเครือข่ายประจำสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี) ผู้อำนวยการกองข้อมูลข่าวสาร การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (ขอขอบคุณ ข้อมูลบางส่วนจาก สขร.)

  2. ความเป็นมา ยกร่างกฎหมาย รัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน 23 ก.ค. 2540 สภาผู้แทนฯ มีมติเห็นชอบ 10 ก.ย. 2540 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 9 ธ.ค. 2540 มีผลบังคับใช้

  3. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครองฯ พ.ศ.2542 พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539 พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ.2539 ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 และ ระเบียบ รปภ.พ.ศ.2552

  4. พ.ร.บ.นี้ยังสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ส่วนที่ 10 ว่าด้วย สิทธิในข้อมูลข่าวสารและการร้องเรียน มาตรา 56“บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับทราบข้อมูล หรือข่าวสารสาธารณะในครอบครองของหน่วยราชการหน่วยงานของรัฐฯ...... เว้นแต่การเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสารนั้น จะกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัยของประชาชน หรือ ส่วนได้เสียอันพึงได้รับความคุ้มครองของบุคคลอื่น หรือ เป็นข้อมูลส่วนบุคคล ..” • มาตรา 35“.... บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับความคุ้มครองจากการแสวงประโยชน์โดยมิชอบจากข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับตน ....”

  5. หลักการและแนวคิด พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ด้านประชาชน มีสิทธิจะรู้ และรู้ที่จะใช้สิทธิ ด้านหน่วยงานของรัฐ เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น คุ้มครองข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล

  6. โครงสร้างของกฎหมาย - หลักทั่วไป - หมวด 1 : ข้อมูลข่าวสารทั่วไป & การเปิดเผย - หมวด 2 : ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย - หมวด 3 : ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล - หมวด 4 : เอกสารประวัติศาสตร์ - หมวด 5 : คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ - หมวด 6 : คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร - หมวด 7 : บทกำหนดโทษ - บทเฉพาะกาล

  7. “หน่วยงานและเจ้าหน้าที่”“หน่วยงานและเจ้าหน้าที่” “หน่วยงาน” ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ศาลเฉพาะในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดี องค์กรควบคุมการประกอบวิชาชีพ หน่วยงานอิสระของรัฐ และหน่วยงานอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง “เจ้าหน้าที่” ผู้ซึ่งปฏิบัติงานให้แก่หน่วยงานของรัฐ

  8. ข้อมูล ข้อเท็จจริง หรือสิ่งที่ถือ หรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง ข่าวสาร ข้อความที่ส่งมาให้รู้เรื่องกัน

  9. สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราว ข้อเท็จจริง ข้อมูลหรือสิ่งใดๆ ในรูปของเอกสาร แฟ้ม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถ่ายฟิล์ม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร์หรือวิธีอื่นใดที่ทำให้สิ่งที่บันทึกไว้ปรากฏได้ ข้อมูลข่าวสาร

  10. ข้อมูลข่าวสารของราชการข้อมูลข่าวสารของราชการ ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ใน ความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินงาน ของรัฐหรือ เอกชน

  11. ประเภทของข้อมูลข่าวสารประเภทของข้อมูลข่าวสาร 1 1 2 ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ข้อมูลข่าวสารที่ต้อง เปิดเผยเป็นการทั่วไป ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย ข้อมูลข่าวสารที่เปิดเผยไม่ได้ ได้แก่ ข้อมูลที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ สถาบันพระมหากษัตริย์ ม.14 ม.7 ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา ม.9 จัดไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดู ข้อมูลที่หน่วยงานของรัฐอาจมีคำสั่ง มิให้เปิดเผย เช่น ข้อมูลที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ ฯลฯ ม.15 เอกสารประวัติศาสตร์ ม.26 3 4 ม.11 ข้อมูลเฉพาะราย ม.4,21,23,24

  12. หน้าที่และวิธีดำเนินการของหน่วยงานของรัฐหน้าที่และวิธีดำเนินการของหน่วยงานของรัฐ ในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ ข้อมูลข่าวสารของราชการ จัดให้ เฉพาะราย ( มาตรา 11 ) เรื่องที่อยากรู้ จัดให้ประชาชน เข้าตรวจดู ( มาตรา 9 ) เรื่องที่สนใจ ลงพิมพ์ ในราชกิจจาฯ (มาตรา 7 ) เรื่องที่ต้องให้รู้

  13. ข้อมูลลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 7) (1) โครงสร้างและการจัดองค์กร (2) สรุปอำนาจหน้าที่ที่สำคัญ (3) สถานที่ติดต่อขอรับข้อมูลข่าวสาร (4) กฎ มติค.ร.ม. ข้อบังคับ คำสั่งฯ (=กฎ) (5) ข้อมูลข่าวสารอื่นที่คณะก.ก.กำหนด

  14. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการตามมาตรา 9 • ข้อมูลข่าวสารของราชการที่หน่วยงานจะต้องรวบรวมไว้ให้ ประชาชนเข้าตรวจดู 1.ผลการพิจารณาหรือคำวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงต่อเอกชน ได้แก่ การอนุญาต อนุมัติ การวินิจฉัย การอุทธรณ์ ที่กระทำโดยเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง เช่น * คำวินิจฉัยของคณะกรรมการอุทธรณ์ตาม พรบ. ควบคุมอาคาร กรณีเจ้าพนักงานท้องถิ่นมีคำสั่งไม่อนุญาตคำขอ * ผลการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งไม่อนุญาตตาม พรบ. สุราฯ * คำสั่งไม่อนุญาตให้ตั้งท่าเรือ คำสั่งพักใบอนุญาต หรือ ถอนใบอนุญาตของกรมการขนส่งทางน้ำ

  15. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารฯตามมาตรา 9 (ต่อ) 2. นโยบายหรือการตีความ * นโยบายของสถาบันฯ * นโยบายทุนรัฐวิสาหกิจ * นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข * การหารือข้อกฎหมายกรณีสมาชิกสภาเทศบาล มีหุ้นส่วนใน หจก. ที่เป็นคู่สัญญากับเทศบาล * การหารือข้อกฎหมายเกี่ยวกับการดำเนินการตาม มติ ครม. และการจัดเก็บภาษีโรงเรือน และที่ดิน * การหารือปัญหาการบังคับใช้ พรบ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539

  16. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการตามมาตรา 9 3. แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจ่ายประจำปี ของปีที่กำลังดำเนินงาน * แผนยุทธศาสตร์ของกรมฯตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ แผนงบประมาณการพัฒนาของกรม กระทรวง * แผนแม่บทของหน่วยงาน หรือ แผนพัฒนาด้าน ต่างๆ ของปีที่ ดำเนินการที่กำหนดไว้ในแผน 4. คู่มือหรือคำสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของ จนท.ของรัฐ ซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิหน้าที่ของเอกชน * คู่มือการขออนุญาตก่อสร้าง ดัดแปลง เคลื่อนย้าย หรือ รื้อถอนอาคาร ตาม พรบ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 * คู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่อนามัย กรมการแพทย์

  17. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการตามมาตรา 9 5. สิ่งพิมพ์ที่ได้มีการอ้างถึงตามมาตรา 7 วรรคสอง ถ้ามีการจัดพิมพ์เผยแพร่ไว้จำนวนพอสมควรแล้ว ก็ไม่จำเป็นต้องนำลงพิมพ์ในราชกิจจาฯ ทั้งหมด ลงพิมพ์แต่เพียงว่า ได้มีการเผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวแล้ว โดยอ้างถึงสิ่งพิมพ์ที่มีการเผยแพร่แล้วไว้ในราชกิจจาฯด้วย กฎหมายจึงกำหนดให้ต้องนำสิ่งพิมพ์ที่ได้มีการอ้างอิงถึงในราชกิจจาฯ ต้องนำมารวมไว้เพื่อให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ด้วย เช่น * ประกาศ คณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพสอบบัญชี ฉบับที่ 42 เรื่อง มาตรฐานการบัญชี

  18. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการตามมาตรา 9 6. สัญญาสัมปทาน สัญญาที่มีลักษณะในการผูกขาดตัดตอน หรือลักษณะร่วมทุนกับเอกชนในการจัดทำบริการสาธารณะ * สัญญาสัมปทานการเดินรถประจำทาง * สัญญาสัมปทานการทำเหมืองแร่ การทำป่าไม้ * สัญญาสัมปทานให้เอกชนเก็บขยะมูลฝอยของ กทม. และ เมืองพัทยา * สัญญาโครงการทางพิเศษ * สัญญาให้ผลิตสุรา * สัญญา ITV

  19. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการตามมาตรา 9 7. มติคณะรัฐมนตรี หรือมติคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยกฎหมาย และแต่งตั้งโดยมติ ค.ร.ม. 7.1 มติ คณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยคณะรัฐมนตรี เช่น * มติ กขร. * มติคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ * มติคณะกรรมการมาตรฐานสินค้า * มติคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ * มติคณะกรรมการกำกับนโยบายราคากลางงานก่อสร้าง 7.2 มติคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยกฎหมาย เช่น * มติคณะกรรมการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

  20. (8) ข้อมูลอื่น ตามที่คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ กำหนด คำถาม ปัจจุบัน คณะกรรมการ (กขร.) ประกาศให้ข้อมูลใด เป็นข้อมูลตาม มาตรา 9(8) บ้าง ?

  21. ข้อมูลข่าวสารอื่นซึ่งหน่วยงานของรัฐ ต้องจัดให้ประชาชนตรวจดูตามมาตรา 9(8) 1 ประกาศประกวดราคา ประกาศสอบราคา สรุปผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างประจำเดือน มติคณะรัฐมนตรี 28 ธันวาคม 2547 กำหนดให้นำเผยแพร่ลงบนหน้าแรกของ website ของหน่วยงาน

  22. 22

  23. ข้อมูลข่าวสารอื่นซึ่งหน่วยงานของรัฐ ต้องจัดให้ประชาชนตรวจดูตามมาตรา 9(8) 2 ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ประกาศคณะกรรมการฯ 7 มิ.ย. 2553

  24. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารตามมาตรา 9 ถ้ามีส่วนต้องห้ามมิให้เปิดเผยตามมาตรา 14 หรือ 15 อยู่ด้วย ให้ ลบหรือตัดทอน หรือทำโดยประการอื่นใดที่ไม่เป็นการเปิดเผยข้อมูลนั้น บุคคลไม่ว่ามีส่วนได้เสียเกี่ยวข้องหรือไม่ ย่อมมีสิทธิเข้าตรวจดูขอสำเนาหรือสำเนาที่มีคำรับรองถูกต้องได้ โดยหน่วยงานอาจเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในการนั้นได้

  25. วิธีการจัดให้ตรวจดู (ม.9)(ประกาศคณะกรรมการฯ 24 ก.พ.41)(1) ต้องมีสถานที่เฉพาะ(2) จัดทำดรรชนี(3) ประชาชนต้องหยิบได้เอง(4) คำนึงถึงความสะดวก(5) อาจเป็นห้องสมุดหรือ ห้องในหน่วยงานอื่น

  26. ประกาศฯ เรื่องการเรียกค่าธรรมเนียมขอสำเนา ขนาดกระดาษ เอ ๔ ไม่เกิน ๑ บาท ขนาดกระดาษ เอฟ ๑๔ ไม่เกิน ๑.๕๐ บาท ขนาดกระดาษ บี ๔ ไม่เกิน ๒ บาท ขนาดกระดาษ เอ ๓ ไม่เกิน ๓ บาท ขนาดกระดาษพิมพ์เขียว เอ ๒ ไม่เกิน ๘ บาท ขนาดกระดาษพิมพ์เขียว เอ ๑ ไม่เกิน ๑๕ บาท ขนาดกระดาษพิมพ์เขียว เอ ๐ ไม่เกิน ๓๐ บาท

  27. ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ จัดในสถานที่ที่มีอยู่แล้ว ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของ อบต.

  28. มีเจ้าหน้าที่อำนวยความสะดวกมีเจ้าหน้าที่อำนวยความสะดวก

  29. กำหนดระเบียบเพื่อความเรียบร้อยก็ได้ แต่ต้องคำนึงถึงความสะดวกเป็นสำคัญ

  30. กำหนดระเบียบได้โดยคำนึงถึงความสะดวกกำหนดระเบียบได้โดยคำนึงถึงความสะดวก

  31. ป้ายบอกชัดเจน

  32. ข้อมูลข่าวสารจัดหมวดตามมาตรา 9(1)-(8) จำแนกตามหน่วยงาน จัดตามชื่อเรื่อง ตัวอย่างการจัดทำดัชนีข้อมูลข่าวสาร

  33. สัญญาสัมปทาน-จัดเก็บรังนกอีแอ่น 9(6) แผนพัฒนาเทศบาล/อบต./อบจ. - 2552 9(3) นโยบายที่แถลงต่อสภาท้องถิ่น - 2552 9(2) งบประมาณ – 2552 9(3) โครงการ - 2552 9(3) คำวินิจฉัย - ควบคุมอาคาร 9(1) คำวินิจฉัย - การสาธารณสุข 9(1) คู่มือ – การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ 9(4) คู่มือ - การจัดเก็บภาษีและค่าธรรมเนียม 9(4) ข้อบังคับตำบลว่าด้วยการสาธารณสุข - 2552 9(5) การจัดซื้อจัดจ้าง - 2552 9(5)

  34. EXAT Public Information Centerศูนย์ข้อมูลข่าวสารของ กทพ.ยินดีต้อนรับ เจ้าหน้าที่ ประจำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของ กทพ.

  35. ส่วนหนึ่งของรางวัลที่ กทพ.ได้รับ รางวัลหน่วยงานดีเด่นด้านความร่วมมือในการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสาร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ทำเนียบรัฐบาล รางวัลการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสาร เพื่อบริการประชาชนเป็นอย่างดี ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๑ เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2551 ที่ทำเนียบรัฐบาล

  36. การเปิดเผยข้อมูลเฉพาะราย (มาตรา 11) 1. หน่วยงานจัดให้ ภายในเวลาอันสมควร เว้นแต่ ขอจำนวนมาก หรือ บ่อยครั้ง 2. ถ้าไม่มี ให้แนะนำไปยื่นที่อื่น 3. ข้อมูลที่หน่วยงานอื่นจัดทำและห้ามเปิดเผย ให้ ส่งคำขอให้หน่วยงานอื่นพิจารณา

  37. มติ ครม. เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2547 ข้อมูลข่าวสาร มีพร้อมอยู่แล้วให้ดำเนินการโดยเร็ว หรือภายในวันที่ขอ ถ้าขอมากไม่เสร็จภายใน 15 วัน ต้องแจ้งผู้ขอ ภายใน 15 วัน และ แจ้งกำหนดวันแล้วเสร็จด้วย

  38. ลักษณะข้อมูลที่จัดให้ประชาชน(1) ข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่แล้ว(2) ไม่ต้องจัดทำขึ้นใหม่เว้นแต่ แปรสภาพ ตามที่ คณะกรรมการ กำหนด ซึ่งเห็นว่า- มิใช่แสวงหาประโยชน์การค้า- เพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพ - ประโยชน์แก่สาธารณะ

  39. ผู้มีสิทธิตรวจดู- บุคคลทั่วไป ต้องเป็นคนไทย ไม่จำเป็นต้องเป็นผู้มีส่วนได้เสีย (มีสัญชาติไทย และ ไม่มีสัญชาติไทยแต่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย )- คนต่างด้าว เฉพาะที่ได้รับอนุญาต ให้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย ม.14

  40. ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย (มาตรา 14) ข้อมูลข่าวสารที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ กรณีนี้ กฎหมายให้ใช้ ดุลพินิจหรือไม่ ?

  41. ข้อมูลข่าวสารที่อาจไม่ต้องเปิดเผย(มาตรา 15) การปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ ต้องพิจารณา ทั้ง 3 ส่วน ประกอบกัน ดุลพินิจ ประโยชน์ของ เอกชนที่ เกี่ยวข้อง ประโยชน์ สาธารณะ อิสระ เสมอภาค เหตุผล

  42. ข้อมูลข่าวสารที่อาจไม่ต้องเปิดเผยต้องเข้าข้อยกเว้นต่อไปนี้ (มาตรา 15 ) (1) ความมั่นคงของประเทศ (2) การบังคับใช้กฎหมาย ต้องระบุเหตุผล หากไม่เปิดเผย (ระบุมาตราและอนุมาตรา) (3) ความเห็นภายใน (4) ความปลอดภัยของบุคคล (5) ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล (6) กฎหมายหรือบุคคลเจ้าของข้อมูลกำหนดมิให้เปิดเผย

  43. จนท.ที่เปิดเผยข้อมูล ย่อมได้รับความคุ้มครอง จากการปฏิบัติตามหน้าที่ ถ้าใช้ดุลพินิจเปิดเผย เฉพาะกรณีต่อไปนี้ • เพื่อประโยชน์สาธารณะ • การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารโดยสุจริต (ม. 20)

  44. มาตรา 20 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารใด แม้จะเข้าข่ายต้องมีความรับผิดตามกฎหมายใดให้ถือว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐไม่ต้องรับผิด หากเป็นการกระทำโดยสุจริต ในกรณีดังนี้ (1) ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา 15 ถ้าเจ้าหน้าที่ของรัฐได้ดำเนินการโดยถูกต้อง ตามระเบียบตามมาตรา 16 (2) ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา 15 ถ้าเจ้าหน้าที่ของรัฐในระดับตามที่กำหนดในกฎกระทรวง มีคำสั่งให้เปิดเผยเป็นการทั่วไปหรือเฉพาะ แก่บุคคลใดเพื่อประโยชน์อันสำคัญยิ่งกว่าที่เกี่ยวกับ...

  45. ...ประโยชน์สาธารณะ หรือชีวิต ร่างกาย สุขภาพ หรือประโยชน์อื่นของบุคคล และคำสั่งนั้นได้กระทำโดยสมควรแก่เหตุ ในการนี้จะมีการกำหนดข้อจำกัดหรือเงื่อนไขในการใช้ข้อมูลข่าวสารนั้นตามความเหมาะสมก็ได้ การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่งไม่เป็นเหตุให้หน่วยงานของรัฐพ้นจากความรับผิดตามกฎหมายหากจะพึงมีในกรณีดังกล่าว

  46. กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 ( พ.ศ. 2542 ) คำสั่งให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารตามมาตรา 15 ให้เป็นอำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ดังต่อไปนี้ (1) ข้าราชการพลเรือน... ซึ่งมีหน้าที่ครอบครองหรือควบคุมดูแลข้อมูลข่าวสารนั้น และเป็นผู้ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ระดับ 6 ขึ้นไป

  47. ข้อมูลข่าวสารลับ = ข้อมูลตาม มาตรา 14 หรือ มาตรา 15 ที่มีคำสั่งมิให้เปิดเผยและกำหนดชั้นความลับไว้ มาตรา 16 ให้อำนาจ ครม. ออกระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544ขึ้นใช้บังคับแทนระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 ในส่วนที่ว่าด้วยเอกสารข้อมูลข่าวสารลับ มีความเกี่ยวข้องกับข้อมูลข่าวสารที่ห้ามมิให้เปิดเผย (มาตรา 14) หรืออาจมีคำสั่งมิให้เปิดเผย (มาตรา 15) การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารลับ จะต้องปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 มาตรา 4

  48. ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล • หลักการคุ้มครอง • ปกปิดเป็นหลัก • เปิดเผยเป็นข้อยกเว้น • ข้อยกเว้น

  49. ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล สิ่งเฉพาะตัวของบุคคล สิ่งบอกลักษณะอื่น เช่น เช่น ฐานะการเงิน ชื่อ-นามสกุล การศึกษา ลายพิมพ์นิ้วมือ ประวัติสุขภาพ แผ่นบันทึกลักษณะเสียง ประวัติอาชญากรรม รูปภาพ ประวัติการทำงาน ปกปิดเป็นหลัก เปิดเผยเป็นข้อยกเว้น

  50. หน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ กับข้อมูลส่วนบุคคล • จัดเก็บข้อมูลเท่าที่จำเป็น ต้องยกเลิกเมื่อหมดความจำเป็น Update ข้อมูลอยู่เสมอ และ จัดระบบ รปภ. ( ม. 23) • พยายามเก็บข้อมูลโดยตรงจากเจ้าของข้อมูล (ม. 23) • จัดให้พิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา ใน 6 ประเด็น (ม. 23(3)) • จะเปิดเผยข้อมูลโดยปราศจากความยินยอมไม่ได้ (ม.24) • ยอมให้เจ้าของข้อมูลขอดูข้อมูลเกี่ยวกับตนได้ (ม. 25) • แก้ไขข้อมูลให้ตรงความจริงตามที่เจ้าของร้องขอ (ม. 25)

More Related