1 / 27

ดำเนินการ โดย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับการตรวจติดตาม และประเมินการจัดการพลังงานภายในองค์กร. ดำเนินการ โดย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. หัวข้อฝึกอบรม. โครงสร้างกฎหมายฉบับปรับปรุง ลักษณะการเป็นโรงงานควบคุม / อาคารควบคุม พระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุม/อาคารควบคุม

alpha
Download Presentation

ดำเนินการ โดย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับการตรวจติดตาม และประเมินการจัดการพลังงานภายในองค์กร ดำเนินการโดย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  2. หัวข้อฝึกอบรม • โครงสร้างกฎหมายฉบับปรับปรุง • ลักษณะการเป็นโรงงานควบคุม / อาคารควบคุม • พระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุม/อาคารควบคุม • หน้าที่ของเจ้าของโรงงานควบคุม / อาคารควบคุม • กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการพลังงาน ในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552 • กฎกระทรวงกำหนดคุณสมบัติ หน้าที่ และ จำนวนของผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน พ.ศ. 2552 • กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับการตรวจประเมินการจัดการพลังงานในองค์กร • กฎกระทรวงกำหนดคุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาต หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขอรับใบอนุญาตและการอนุญาตตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน พ.ศ. 2555

  3. โครงสร้างกฎหมายฉบับปรับปรุงโครงสร้างกฎหมายฉบับปรับปรุง พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานพ.ศ.2535 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2550) มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มิ.ย. 2551 พระราชกฤษฎีกา กำหนดโรงงานควบคุม พ.ศ.2540 พระราชกฤษฎีกา กำหนดอาคารควบคุม พ.ศ.2538 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 17 ก.ค. 2540 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 12 ธ.ค. 2538 กฎกระทรวงกำหนดคุณสมบัติของผู้รับ ใบอนุญาต หลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขการขอรับใบอนุญาต และการ อนุญาตตรวจสอบและรับรองการจัดการ พลังงาน พ.ศ. 2555 กฎกระทรวงกำหนดคุณสมบัติ หน้าที่และจำนวนของ ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน พ.ศ. 2552 กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์และวิธีการจัดการ พลังงาน ในโรงงานควบคุมและ อาคารควบคุม พ.ศ. 2552 กฎกระทรวงกำหนดเครื่องจักร อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง และวัสดุ เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2552 กฎกระทรวงกำหนดประเภทหรือขนาดของอาคาร และมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการในการออกแบบ อาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2552 ประกาศกระทรวงและประกาศกรม ภายใต้กฎกระทรวงแต่ละฉบับ

  4. ลักษณะการเป็นโรงงานควบคุม / อาคารควบคุม เป็นอาคารหรือโรงงานหลังเดียวหรือหลายหลังภายใต้บ้านเลขที่เดียวกัน ติดตั้งเครื่องวัดไฟฟ้า (มิเตอร์) ขนาดตั้งแต่ 1,000 kW ขึ้นไป หรือติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าตัวเดียวหรือหลายตัวรวมกัน มีขนาดตั้งแต่ 1,175 kVAขึ้นไปหรือใช้พลังงานไฟฟ้า ความร้อนจากไอน้ำ หรือพลังงานสิ้นเปลืองรวมกันในรอบปีที่ผ่านมา (ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 31 ธันวาคม) คิดเทียบเท่าพลังงานไฟฟ้าตั้งแต่ 20 ล้าน MJ/ปี ขึ้นไป ตามที่พระราชกฤษฎีกากำหนด ต้องมีองค์ประกอบ 2 ส่วน ครบถ้วนตามที่พระราชกฤษฎีกากำหนด

  5. หน้าที่ของเจ้าของโรงงานควบคุม / อาคารควบคุม (มาตรา 9, 21) • จัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานประจำโรงงาน / อาคารควบคุมแต่ละแห่ง โดยมีจำนวน คุณสมบัติ และหน้าที่เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง • จัดให้มีการจัดการพลังงานในโรงงาน / อาคารควบคุม ตามมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง

  6. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการพลังงาน ในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552

  7. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงานฯ ข้อกำหนดที่เจ้าของโรงงานควบคุม/อาคารควบคุมต้องดำเนินการ 1. พัฒนาและดำเนินการจัดการพลังงาน 2. จัดทำรายงานการจัดการพลังงาน 3.จัดให้มีการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน โดยผู้ตรวจสอบพลังงานที่ขึ้นทะเบียนกับกรมพัฒนาพลังงานทดแทนฯ 4. ส่งผลการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานให้กรมพัฒนาพลังงานทดแทนฯ ภายในเดือนมีนาคมของทุกปี

  8. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงานฯ วิธีการจัดการพลังงาน ประกอบด้วย 8 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การจัดให้มีคณะทำงานด้านการจัดการพลังงาน 2. การประเมินสถานการจัดการเบื้องต้น 3. การกำหนดนโยบายอนุรักษ์พลังงานและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 4. การประเมินศักยภาพ การอนุรักษ์พลังงาน 8. การทบทวน วิเคราะห์ แก้ไขระบบ 6. ดำเนินการตามแผนฯ และตรวจสอบวิเคราะห์ การปฏิบัติตามเป้าหมายและแผน 5. กำหนดเป้าหมาย และแผนอนุรักษ์พลังงาน รวมทั้งแผนฝึกอบรม 7. ตรวจติดตามประเมินระบบการจัดการพลังงาน

  9. ขั้นตอนการดำเนินการ เจ้าของโรงงานควบคุม/อาคารควบคุม จัดส่งรายงาน การจัดการพลังงานทุกปี จัดให้มีการดำเนิน การจัดการพลังงานตามกฎกระทรวงฯ +

  10. โรงงาน/อาคารควบคุม ผู้ตรวจสอบพลังงาน • ขั้นตอนการดำเนินการ กรณีกฎกระทรวง ผู้ตรวจสอบฯรอบังคับใช้และมีการขึ้นทะเบียนผู้ตรวจสอบเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ตรวจสอบ อนุมัติ และกำหนดทะเบียนเลขที่ ผู้รับผิดชอบพลังงาน แจ้งแต่งตั้ง ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ภายใน 180 วัน นับตั้งแต่วันที่ กฏกระทรวงมีผลใช้บังคับ ดำเนินการ จัดการพลังงาน ตามขั้นตอนการจัดการพลังงาน 8 ขั้นตอน จัดทำรายงาน การจัดการพลังงาน ตามรายละเอียดที่ พพ. กำหนด ส่งรายงานการจัดการพลังงาน ภายในเดือนมีนาคมของทุกปี ตรวจสอบและอนุมัติ ช่องทางสำหรับการนำส่ง (1) นำส่งด้วยตนเอง (2)ทางไปรษณีย์ลงเบียนตอบรับ 10/27

  11. ขั้นตอนการดำเนินการ ผู้ตรวจสอบและรับรอง เจ้าของโรงงานควบคุม/อาคารควบคุม รายงาน ผลการตรวสอบและรับรองการจัดการพลังงาน รายงาน การจัดการพลังงาน รายการตรวจสอบการจัดการพลังงาน จัดส่งรายงาน การจัดการพลังงานทุกปี จัดให้มีการดำเนิน การจัดการพลังงานตามกฎกระทรวงฯ +

  12. โรงงาน/อาคารควบคุม ผู้ตรวจสอบพลังงาน ขั้นตอนการดำเนินการ กรณีกฎกระทรวง ผู้ตรวจสอบฯบังคับใช้ ตรวจสอบ อนุมัติ และกำหนดทะเบียนเลขที่ ผู้รับผิดชอบพลังงาน แจ้งแต่งตั้ง ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ภายใน 180 วัน นับตั้งแต่วันที่ กฏกระทรวงมีผลใช้บังคับ ดำเนินการ จัดการพลังงาน ตามขั้นตอนการจัดการพลังงาน 8 ขั้นตอน จัดทำรายงาน การจัดการพลังงาน ตรวจสอบและรับรอง การจัดการพลังงาน ตามรายละเอียดที่ พพ. กำหนด ตามวิธีการตรวจสอบและ รับรองที่ พพ. กำหนด ส่งรายงานการจัดการพลังงานที่ได้ รับการตรวจสอบและรับรองภายใน เดือนมีนาคมของทุกปี ตรวจสอบและอนุมัติ ช่องทางสำหรับการนำส่ง (1) นำส่งด้วยตนเอง (2)ทางไปรษณีย์ลงเบียนตอบรับ 12/27

  13. กฎกระทรวงกำหนดคุณสมบัติ หน้าที่และจำนวนของผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน พ.ศ. 2552

  14. กฎกระทรวงกำหนดคุณสมบัติ หน้าที่ และจำนวนผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน พ.ศ.2552 ข้อกำหนด 1. เจ้าของโรงงาน/อาคารควบคุม ต้องจัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานประจำที่โรงงาน/อาคารควบคุม แต่ละแห่ง (ผชอ. / ผชร.) 2. คุณสมบัติ/จำนวน ผชร./ผชอ. เป็นไปตามขนาดเครื่องวัดไฟฟ้า / หม้อแปลงไฟฟ้าของโรงงาน/อาคารควบคุมที่รับอนุมัติ

  15. การแจ้งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบด้านพลังงานการแจ้งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน เจ้าของโรงงานหรืออาคารควบคุมต้องแจ้งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ภายใน 180 วัน นับแต่วันที่กฏกระทรวงมีผลใช้บังคับ ตามจำนวนและคุณสมบัติดังต่อไปนี้ กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 ติดตั้งเครื่องวัดไฟฟ้า <3,000 kW ติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้ารวมกัน < 3,530 kVA มีปริมาณการใช้พลังงาน <60 ล้าน MJ/ปี ติดตั้งเครื่องวัดไฟฟ้า ≥ 3,000 kW ติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้ารวมกัน ≥ 3,530 kVA มีปริมาณการใช้พลังงาน ≥60 ล้าน MJ/ปี ผู้รับผิดชอบด้านพลังงานอย่างน้อย 2 คน ผู้รับผิดชอบพลังงานด้านอาวุโส 1 คน ผู้รับผิดชอบพลังงานสามัญ 1 คน ผู้รับผิดชอบด้านพลังงานอย่างน้อย 1 คน การแจ้งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบด้านพลังงานใช้ แบบ บพช. 1,2 หรือ 3 พร้อมเอกสารหลักฐานตามที่กำหนด สรุปขั้นตอนการแจ้งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน

  16. กฎกระทรวงกำหนดคุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาต หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขอรับใบอนุญาตและการอนุญาตตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน พ.ศ. 2555

  17. สรุปเนื้อหาสาระสำคัญของกฎกระทรวงฯสรุปเนื้อหาสาระสำคัญของกฎกระทรวงฯ ผู้ขอรับใบอนุญาต บุคคลธรรมดา นิติบุคคล ผู้ชำนาญการ 1 คน คุณสมบัติ สัญชาติไทย มีใบ กว. สาขาการจัดการพลังงาน ผ่านการอบรมการตรวจสอบรับรองฯ ไม่ถูกพัก/ถอน ใบอนุญาต ผู้ช่วยผู้ชำนาญการ 2 คน คุณสมบัติ สัญชาติไทย ผ่านการอบรมการตรวจสอบรับรองฯ ไม่ถูกพัก/ถอน ใบอนุญาต หมายเหตุ : ไม่ต้องมีใบ กว. AUDIT TEAM หมายเหตุ : ผู้ชำนาญการ/ผู้ช่วย ตรวจรับรองได้ไม่เกิน 30 แห่งในรอบปี

  18. กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องการตรวจประเมินการจัดการพลังงานในองค์กรกฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องการตรวจประเมินการจัดการพลังงานในองค์กร

  19. กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์และวิธีการจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๒ ข้อ 9“เจ้าของโรงงานควบคุมและเจ้าของอาคารควบคุมต้องจัดให้มีการตรวจ ติดตามและประเมินการจัดการพลังงาน รวมถึงการทบทวน วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัดการพลังงานตามช่วงเวลาที่กำหนดอย่างเหมาะสมเป็นประจำ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้งตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดในราชกิจจานุเบกษา”

  20. ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๒ • หมวด ๔ • การตรวจติดตาม และประเมินการจัดการพลังงาน การทบทวน วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัดการพลังงาน • 1. แต่งตั้งคณะผู้ตรวจประเมินการจัดการพลังงาน อย่างน้อย 2คน • 2. ลงลายมือชื่อในคำสั่งแต่งตั้งและเผยแพร่ให้ทราบทั่วถึงในองค์กร • 3. คณะผู้ตรวจประเมินฯตรวจสอบการจัดการพลังงานตามที่กฎหมายกำหนด • 4. จัดทำรายงานสรุปผลการตรวจประเมินการจัดการพลังงาน • โดยให้เป็นส่วนหนึ่งในรายงานการจัดการพลังงาน

  21. ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๒ ข้อ ๑๕ (๑) ให้คณะทำงานด้านการจัดการพลังงานประชุมร่วมกับเจ้าของโรงงานควบคุมหรือเจ้าของอาคารควบคุมเพื่อแต่งตั้งคณะผู้ตรวจประเมินการจัดการพลังงานภายในองค์กร โดยประกอบด้วยบุคคลอย่างน้อยสองคนซึ่งมีความรู้และความเข้าใจในวิธีการจัดการพลังงาน มีความเป็นกลาง และเป็นอิสระในการดำเนินการ

  22. ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๒ ข้อ ๑๕ (๒) ให้เจ้าของโรงงานควบคุมและเจ้าของอาคารควบคุมลงลายมือชื่อในคำสั่งแต่งตั้งคณะผู้ตรวจประเมินการจัดการพลังงานภายในองค์กรและเผยแพร่ให้บุคลากรของโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมทราบอย่างทั่วถึง ผู้ตรวจประเมินการจัดการ พลังงานภายใน

  23. ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๒ ข้อ ๑๕ (๓) คณะผู้ตรวจประเมินการจัดการพลังงานภายในองค์กรต้องตรวจสอบให้แน่ชัดว่าโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมได้ปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด โดยเฉพาะในส่วนของข้อกำหนดดังต่อไปนี้

  24. ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๒ ข้อ ๑๖ เพื่อประโยชน์ในการตรวจติดตามและประเมินการจัดการพลังงานตามหมวดนี้ให้คณะทำงานด้านการจัดการพลังงานของโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมรวบรวมเอกสารและหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมและจัดส่งให้คณะผู้ตรวจประเมินการจัดการพลังงานภายในองค์กร

  25. ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๒ ข้อ ๑๗ ให้คณะผู้ตรวจประเมินการจัดการพลังงานภายในองค์กรดำเนินการตรวจสอบเอกสารและหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการพลังงานตามข้อ ๑๖ ว่ามีและครบถ้วนหรือไม่ ซึ่งอาจรวมถึงการสอบถามหรือสัมภาษณ์บุคลากรในโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุม และจัดทำสรุปผลการตรวจติดตามการดำเนินการจัดการพลังงานพร้อมลงลายมือชื่อโดยประธานคณะผู้ตรวจประเมินการจัดการพลังงานภายในองค์กร ส่งให้คณะทำงานด้านการจัดการพลังงานและเจ้าของโรงงานควบคุมหรือเจ้าของอาคารควบคุม

  26. ISO 9001:2008 ISO 19011:2002 ข้อ 8.2.2 Internal Audit ข้อ 4 หลักการของการตรวจประเมิน ข้อ 5 การบริหารโปรแกรม การตรวจ ประเมิน ข้อ 6 การดำเนินการตรวจประเมิน ข้อ 7 ความสามารถและการประเมิน ผู้ตรวจประเมิน ISO 50001:2011 ข้อ 4.6.3 Internal Audit 0f the EnMs

  27. ถาม ตอบ - 520721

More Related