421 likes | 1.41k Views
การวิเคราะห์กำไรและจุดคุ้มทุน. Chapter 4. องค์ประกอบที่มีส่วนกำหนดความสามารถในการทำกำไรของผลิตภัณฑ์ มีอยู่ 4 ประการ ได้แก่. 1 . ราคาต่อหน่วยของผลิตภัณฑ์ : P 2. ต้นทุน : ต้นทุนผันแปรเฉลี่ย (VC) และต้นทุนคงที่ (FC) 3. ปริมาณการผลิตและจำหน่าย (Q)
E N D
การวิเคราะห์กำไรและจุดคุ้มทุนการวิเคราะห์กำไรและจุดคุ้มทุน Chapter 4 Thonburi University A.Suchada Hommanee
องค์ประกอบที่มีส่วนกำหนดความสามารถในการทำกำไรของผลิตภัณฑ์ มีอยู่ 4 ประการ ได้แก่ 1. ราคาต่อหน่วยของผลิตภัณฑ์ : P 2. ต้นทุน : ต้นทุนผันแปรเฉลี่ย (VC) และต้นทุนคงที่ (FC) 3. ปริมาณการผลิตและจำหน่าย (Q) 4. รายได้จากการขาย (บาท) : Total revenue (TR) การวิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไรของผลิตภัณฑ์ สามารถวัดกำไรได้หลายลักษณะ ได้แก่ - กำไรส่วนเพิ่มต่อหน่วย - กำไรส่วนเพิ่มทั้งหมดในช่วงเวลาหนึ่ง - อัตรากำไรต่อปริมาณหรืออัตรากำไรส่วนเพิ่ม - กำไรส่วนเพิ่มต่อหน่วย Thonburi University A.Suchada Hommanee
การวิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไรของผลิตภัณฑ์(ต่อ)การวิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไรของผลิตภัณฑ์(ต่อ) - กำไรส่วนเพิ่มสุทธิ - กำไรสุทธิจากการดำเนินงาน - กำไรสุทธิหลังหักภาษี *** ข้อมูลที่เป็นผลจากการวิเคราะห์กำไรที่นับว่าสำคัญมาก คือ กำไรส่วนเพิ่ม (Contribution margin : CM) ถ้าวัดในลักษณะอัตราส่วน เรียกว่า อัตรากำไรส่วนเพิ่ม (Contribution margin ratio : %CM) หรือ อัตรากำไรต่อปริมาณ (Profit-Volumnretio : PV) Thonburi University A.Suchada Hommanee
อัตรารายได้ส่วนเพิ่ม (Marginal income ratio) • อัตรากำไรส่วนเพิ่ม หรือ CM ratio คำนวณโดยใช้สูตรต่อไปนี้ %CM = กำไรส่วนเพิ่มต่อหน่วย x 100 = P – VC …. (1) ราคาต่อหน่วย P %CM = กำไรส่วนเพิ่มทั้งหมด x 100 = TR- TVC ….. (2) รายรับจากการขาย TR P = ราคาต่อหน่วย TVC = ต้นทุนผันแปรรวม VC= ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย TR = รายรับจาการขาย Thonburi University A.Suchada Hommanee
ในกรณีที่ต้นทุนผันแปรไม่คงที่สำหรับทุก ๆ หน่วยของการผลิตจึงจำเป็นต้องคำนวณอัตรากำไรส่วนเพิ่ม สำหรับหน่วยที่ได้รับผลจากการเปลี่ยนแปลงราคา ควรใช้สูตร (1) • ในกรณีที่ต้นทุนผันแปรไม่คงที่สำหรับทุก ๆ หน่วยสามารถคำนวณอัตรากำไร โดยใช้สูตร (2) ตัวเลขอัตรากำไรส่วนเพิ่มนี้ มีความสำคัญเพราะเป็นตัววัดสัดส่วนของยอดขายกับผลกำไรของบริษัท Ex ยอดขาย 10,000 คำนวณ CM ratio ได้คือ TVC 6,500 %CM = 10,000-6,500 x 100 TFC 2,500 10,000 กำไร 1,000 = 3,500 x 100 = 35% 10,000 Thonburi University A.Suchada Hommanee
เมื่อทราบอัตรากำไรส่วนเพิ่ม(CM) ทำให้เราสามารถพิจารณาผลกระทบต่อกำไรจากการเปลี่ยนแปลงของยอดขายได้โดยง่าย Ex ถ้ายอดขายเพิ่ม 10% ทำให้มีกำไรเพิ่มขึ้นเท่าใด สามารถคำนวณได้จากสูตร กำไรที่เพิ่มขึ้น = ยอดขายส่วนเพิ่ม x %CM = 1,000 x 0.35 = 350 บาท ตรวจสอบ ยอดขายเดิม 10,000 (100%) ยอดขายใหม่ 11,000 TVC 6,500 (65%) TVC 65% 7,150 TFC 2,500 (25%) TFC 2,500 กำไรสุทธิ 1,000 (10%) กำไรสุทธิ 1,350 (12.27%) Thonburi University A.Suchada Hommanee
การกำหนดราคาจากการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนการกำหนดราคาจากการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน เป็นการกำหนดราคาโดยอาศัยต้นทุนร่วมกับระดับความต้องการ (Demand) ณ ระดับราคาต่างๆมาเป็นปัจจัยหลักในการกำหนดราคา - จุดคุ้มทุน (Break – Even Point) หมายถึง “ระดับปริมาณการผลิตและ จำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ทำให้เกิดรายได้รวมเท่ากับต้นทุนรวมของกิจการ จุดคุ้มทุน = ต้นทุนคงที่รวม (หน่วยผลิตภัณฑ์) ราคาขาย - ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย ราคาขาย ณ จุดคุ้มทุน = ต้นทุนคงที่รวม + ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย = ต้นทุนคงที่ต่อหน่วย + ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย ปริมาณขาย (หน่วย) Thonburi University A.Suchada Hommanee
TR (= P x Q) BEP Profit P TC (= FC + VC) FC Q การกำหนดเป้าหมายกำไร (Target Profit Pricing) FC Contribution = P - VC นำแนวคิดเรื่องจุดคุ้มทุน(Break Even) มาใช้ในการกำหนดราคา การคำนวณกำไรส่วนที่เกินจากต้นทุนคงที่ ใช้สูตร Thonburi University A.Suchada Hommanee
BEP (Unit) = FC P - VC = 600 15 - 5 ดังนั้น จะต้องขายเพิ่มขึ้นอีก = 200 10 = 20 ด้าม รวมเป็นต้องขายทั้งสิ้น 80 ด้าม ตัวอย่างที่ 2 กิจการผลิตปากกาแห่งหนึ่ง มีต้นทุนคงที่ 600 บาท ต้นทุนผันแปร ด้ามละ 5 บาท ตั้งราคาขาย ด้ามละ 15 บาท FC Contribution = P - VC = 15 - 5 = 10 บาทต่อหน่วย BEP (Unit) = 60 ด้าม ถ้าต้องการกำไร 200 บาท จะต้องขายปากกาให้ได้กี่ด้าม? Thonburi University A.Suchada Hommanee
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน • Break-even point • จุดที่แสดงถึงปริมาณการผลิตเพื่อขายที่ทำให้รายได้รวมเท่ากับต้นทุนรวม Thonburi University A.Suchada Hommanee
ส่วนชดเชยต้นทุนคงที่ต่อหน่วย(Contribution margin per unit) Thonburi University A.Suchada Hommanee
TC , TR TR TC 40,000 20,000 TFC 4 Thonburi University A.Suchada Hommanee
? Thonburi University A.Suchada Hommanee
TC , TR TR50 TR20 TR 7.5 TR10 TC 20,000 TFC Thonburi University A.Suchada Hommanee
โจทย์เพิ่มเติม ร้านขายขนมปังแห่งหนึ่ง ซื้อขนมปังมาราคาถุงละ 8 บาท เจ้าของร้านตั้งเป้าหมายกำไรไว้ 6,000 บาท ณ. ระดับยอดขาย 80,000 บาท และมีต้นทุนคงที่เท่ากับ 10,000 บาท ควรตั้งราคาขนมปังถุงละเท่าใด จากข้อมูลต่อไปนี้ Thonburi University A.Suchada Hommanee
คำถาม • 1. สินค้าที่มีอัตรากำไรส่วนเพิ่มต่ำที่สุดคือสินค้าใด • 2. อัตรากำไรส่วนเพิ่ม(กำไรจากการขาย) ของน้ำอัดลมขนาด 1.25 ลิตรคือเท่าใด • 3. อัตรากำไรจากราคาขายของบุหรี่มีค่าเท่าใด • 4. สินค้าที่มีอัตรากำไรส่วนเพิ่มสูงที่สุดคือสินค้าใด และมีอัตรากำไรเท่าใด • 5. บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปมีอัตรากำไรส่วนเพิ่มเท่าใด • 6. ถ้าอัตรากำไรส่วนเพิ่มเฉลี่ยของร้านคือ 20% และกิจการมีต้นทุนคงที่เฉลี่ยเดือนละ 30,000 บาท ร้านจะมียอดขายค้มทุนเท่าใด และ ถ้าร้านมียอดขายเดือนละ 150,000 บาท ร้านจะมีกำไรหรือขาดทุนเท่าใด ********************************************************************** Thonburi University A.Suchada Hommanee
แบบฝึกหัด 4 2. บริษัท จัทนา จำกัด ขายผลิตภัณฑ์ชนิดหนึ่ง มีข้อมูลปรากฎดังต่อไปนี้ • ราคาขายปัจจุบัน 4.90 บาท/หน่วย • จำนวนหน่วยที่คาดว่าจะขายได้ 200,000 หน่วย • ต้นทุนคงที่ที่คาดไว้ 1.60 บาท/หน่วย • ต้นทุนผันแปรที่คาดไว้ 2.20 บาท/หน่วย • บริษัทฯกำลังพิจารณาที่จะขายในราคา 5.40 บาท/หน่วย • ให้ทำ 1. คำนวณจุดคุ้มทุนเมื่อเพิ่มราคาขายเป็น 5.40 บาท • 2. จำนวนหน่วยที่จะต้องขายในราคา 5.40 บาท เพื่อให้ได้กำไรก่อนภาษีเพิ่มขึ้น10% Thonburi University A.Suchada Hommanee