350 likes | 663 Views
การปรับโครงสร้างสำนักชลประทาน. โครงสร้างสำนักชลประทาน (เดิม). ผู้อำนวยการสำนักชลประทาน. ผู้อำนวยการส่วนวิศวกรรม. ผู้อำนวยการส่วนจัดสรรน้ำฯ. ผู้อำนวยการ ส่วนปฎิบัติการ. กลุ่มพิจารณาโครงการ กลุ่มออกแบบ กลุ่มปฐพีและธรณีวิทยา ฝ่ายสำรวจภูมิประเทศ ฝ่ายจัดการความปลอดภัยเขื่อน
E N D
การปรับโครงสร้างสำนักชลประทานการปรับโครงสร้างสำนักชลประทาน
โครงสร้างสำนักชลประทาน (เดิม) ผู้อำนวยการสำนักชลประทาน ผู้อำนวยการส่วนวิศวกรรม ผู้อำนวยการส่วนจัดสรรน้ำฯ ผู้อำนวยการส่วนปฎิบัติการ • กลุ่มพิจารณาโครงการ • กลุ่มออกแบบ • กลุ่มปฐพีและธรณีวิทยา • ฝ่ายสำรวจภูมิประเทศ • ฝ่ายจัดการความปลอดภัยเขื่อน • ฝ่ายตรวจสอบและวิเคราะห์ • ฝ่ายแผนงานและงบประมาณด้านจัดสรรน้ำ • ฝ่ายบริหารและจัดการน้ำ • ฝ่ายส่งเสริมการใช้น้ำ • ฝ่ายวางแผนปรับปรุงและบำรุงรักษา • ฝ่ายปรับปรุงและบำรุงรักษาทางชลประทาน • ฝ่ายวางแผนและแก้ไขปัญหาเรื่องน้ำ • ฝ่ายแผนงานและงบประมาณด้านก่อสร้าง • ฝ่ายปรับปรุงแหล่งน้ำธรรมชาติ • ฝ่ายโครงการพิเศษ • โครงการก่อสร้าง 1-2 หัวหน้าฝ่ายบริหาร โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา โครงการชลประทานจังหวัด • ธุรการ • การเจ้าหน้าที่ • รักษาบริเวณ • ประชาสัมพันธ์ • การเงิน • พัสดุ • งานบริหารทั่วไป • ฝ่ายวิศวกรรม • ฝ่ายจัดสรรน้ำฯ • ฝ่ายช่างกล • ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา • งานบริหารทั่วไป • ฝ่ายวิศวกรรม • ฝ่ายจัดสรรน้ำฯ • ฝ่ายช่างกล • ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา • ฝ่ายปฏิบัติการสูบน้ำ
สายทางการก้าวหน้า (Carrier Part) ผู้อำนวยการสำนักชลประทาน (ผส.ชป.) ผู้อำนวยการสำนัก (ระดับ 9.) ผู้อำนวยการส่วนวิศวกรรม (ผวศ.ชป.) ผู้อำนวยการส่วนจัดสรรน้ำ (ผบร.ชป.) ผู้อำนวยการส่วนปฏิบัติการ (ผปก.ชป.) ผู้อำนวยการส่วน/กอง (ระดับ 8) ผอ.โครงการชลประทาน (ผอ.คป.) ผอ.โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา (ผอ.คบ.) หัวหน้าฝ่ายวิศวกรรมฯ (ฝวศ.คป./ฝวศ.คบ.) หัวหน้าฝ่ายจัดสรรน้ำฯ (ฝจน.คป./ฝจน.คบ.) หัวหน้าฝ่าย/หัวหน้ากลุ่มงาน สำนักชลประทาน หัวหน้าฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา (ฝสบ.คป.) หัวหน้าฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา (ฝสบ.คบ.)
อำนาจหน้าที่ (เดิม) และยุทธศาสตร์ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 การพัฒนาแหล่งน้ำ โครงสร้างสำนักชลประทาน (เดิม) • ควบคุมและดำเนินการก่อสร้างโครงการชลประทานขนาดเล็กและขนาดกลาง โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และโครงการอื่นตามพื้นที่ลุ่มน้ำตามที่กรมมอบหมาย • ดำเนินการเกี่ยวกับการกัก เก็บ รักษา ควบคุม ส่ง ระบาย หรือแบ่งน้ำเพื่อการเกษตรกรรม การสาธารณูปโภค การอุตสาหกรรม การคมนาคมทางน้ำ ติดตามและประเมินความปลอดภัยเขื่อน รวมทั้งการป้องกันความเสียหายอันเกิดจากน้ำภายในพื้นที่ลุ่มน้ำที่รับผิดชอบ • บำรุงรักษาอาคารชลประทาน ถนนชลประทาน และปรับปรุงแหล่งน้ำธรรมชาติให้เกิดประโยชน์ในการอุปโภคและบริโภค • แก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำและป้องกันบรรเทาอุทกภัย รวมทั้งการป้องกันและแก้ไขปัญหาเรื่องคุณภาพน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำที่รับผิดชอบ • ศึกษาและจัดทำรายงานเบื้องต้นโครงการพัฒนาแหล่งน้ำในเขตพื้นที่ลุ่มน้ำที่รับผิดชอบ • ให้ความรู้และเทคโนโลยีสมัยใหม่แก่ผู้ใช้น้ำ • ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย ประเด็นยุทธศาสตร์ 2 การบริหารจัดการน้ำ ประเด็นยุทธศาสตร์ 3 การป้องกันและบรรเทาภัย อันเกิดจากน้ำ ประเด็นยุทธศาสตร์ 4 การรักษาพื้นที่ทำการเกษตร ในเขตชลประทาน
วิเคราะห์ SWOT สำนักชลประทาน (จุดแข็ง) จุดแข็ง (S) - คน • มีบุคลากรกระจายทั่วทุกพื้นที่ • บุคลากรทีมีความเชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการน้ำครบทุกด้าน • บุคลากรมีความเข้าใจในพื้นที่และเรื่องการบริหารจัดการน้ำ • บุคลากรพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง • -เทคโนโลยี • มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย • มีองค์ความรู้หลากหลายและชัดเจน • มีองค์กร R&D ด้านการชลประทาน • มีสถาบันพัฒนาการชลประทาน จุดแข็ง (S) • - การบริหารจัดการ • เป็นหน่วยงานหลักในการบริหารจัดการน้ำ • การดำเนินการเบ็ดเสร็จในพื้นที่ • การบริหารแผนงานก่อสร้าง ปรับปรุง และบำรุงรักษาตรงกับความต้องการของพื้นที่ • มีระบบการบริหารงานที่ชัดเจน • มีการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ที่ชัดเจน • มีหน่วยงานรองรับระบบการบริหารจัดการน้ำตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ • โครงการชลประทานจังหวัดบริหารงบประมาณเบ็ดเสร็จ • มีเป้าหมายในการดำเนินงานชัดเจน • ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาและการตอบสนองต่อพื้นที่ • มีกฏหมายเฉพาะด้านการชลประทาน
วิเคราะห์ SWOT สำนักชลประทาน (จุดอ่อน) จุดอ่อน (W) • - คน • ฝสบ.ขาดประสิทธิภาพในการบริหาร • ฝสบ.ขาดเครื่องมือและบุคคลากรในการดำเนินการ (4M) • การซ้ำซ้อนบุคคลากรในพื้นที่เดียวกัน • ขาดทักษะในการสร้างการมีส่วนร่วม • การก่อสร้างขาดการประสานงานกับพื้นที่ซึ่งทำให้เกิดปัญหากับเกษตรกร • บุคลากรมีความสามารถแต่ต่างคนต่างทำ • ใช้คนไม่ถูกกับงาน • - เงิน • งบประมาณในการปรับปรุงซ่อมแซมและบำรุงรักษามีอยู่อย่างจำกัด • ขาด Operating Cost • ขาด Improve & Maintaining Cost จุดอ่อน (W) • - เทคโนโลยี • ขาดการ Calibrate อาคารชลประทาน • สถานีตรวจวัดน้ำฝนไม่ครอบคลุมพื้นที่ • เทคโนโลยีขาดการดูแลบำรุงรักษาและการใช้ที่ถูกต้อง • ประสิทธิภาพการจัดการชลประทานต่ำ • ขาดการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการบริหารจัดการน้ำ • - การบริหารจัดการ • ขาดการประสานแผนงานระหว่างงานก่อสร้างและงานปรับปรุงบำรุงรักษา • ขาดเจ้าภาพในการตัดสินใจในภาพรวมของการแก้ปัญหาเรื่องน้ำ • ไม่มีการจัดการน้ำในลักษณะลุ่มน้ำ • ขาดระบบDatabase และแผนหลักการดำเนินการ
วิเคราะห์ SWOT สำนักชลประทาน (จุดอ่อน) จุดอ่อน (W) • การบริหารจัดการ • กฎหมายและระเบียบในการปฏิบัติมีมากเกินไป (ไม่เอื้อต่อการทำงาน) • กฏหมายต่างๆ มีมากและขาดการบังคับใช้ จุดอ่อน (W) - การบริหารจัดการ • ขาดหน่วยงานหลักในการจัดทำระบบฐานข้อมูลการบริหารจัดการน้ำ • ขาดแผนการจัดการภาวะวิกฤต • ขาดองค์กรการบริหารจัดการในระดับลุ่มน้ำ • ขาดการควบคุม ตรวจสอบ ติดตามและประเมินผล • การกำหนดความรับผิดชอบไม่ชัดเจน (ไม่สอดคล้อง) • แผนงานพัฒนาแหล่งน้ำไม่สอดคล้องกับความต้องการของราษฏรในพื้นที่ • ขั้นตอนการดำเนินงานมีมากเกินไป • การรายงานมีมากเกินไป • บุคลากรขาดแรงจูงใจในการทำงาน
วิเคราะห์ SWOT สำนักชลประทาน (โอกาส) โอกาส (O) • - การบริหารจัดการ • มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับองค์กรต่างๆ ในพื้นที่ในการทำงาน • หน่วยงานและประชาชนมีความเชื่อถือให้การยอมรับ • นโยบายภาครัฐให้ความสำคัญกับการบริหารจัดการน้ำ • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 ให้การมุ่งเน้นการจัดการน้ำและการเพิ่มพื้นที่ • เทคโนโลยี • องค์กรระหว่างประเทศให้การสนับสนุน • มีนวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ โอกาส (O) - คน • เกษตรกรมีความต้องการน้ำชลประทาน • มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับองค์กรต่างๆ ในพื้นที่ในการทำงาน - เงิน • มีโอกาสได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากแหล่งอื่น • องค์กรระหว่างประเทศให้การสนับสนุน
วิเคราะห์ SWOT สำนักชลประทาน (ภัยคุกคาม) • ภัยคุกคาม (T) • การบริหารจัดการ • ขาดการประสานความเคลื่อนไหวในพื้นที่จากจังหวัด • สิทธิในข้อมูลข่าวสารและการร้องเรียนตามรัฐธรรมนูญปี 50 • มาตรการการถ่ายโอน • งานที่ถ่ายโอนแล้วยังมีภาระผูกพันกับกรมชลประทานอยู่ • การบริหารต้นทุนกับผลผลิต • ไม่สามารถกำหนดนโยบายการผลิตในพื้นที่ได้อย่างมีเอกภาพ • มีหน่วยงานหลายหน่วยทำงานซ้ำซ้อนกับภารกิจของกรมชลประทาน • ความขัดแย้งไม่ชัดเจนในกรอบภาระหน้าที่ของหน่วยงานระดับกรม • การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ชลประทาน และขาดการ Zoning ภัยคุกคาม (T) - คน • การไม่ให้ความร่วมมือการบริหารจัดการน้ำ • การลักขโมยทรัพย์สินในระบบชลประทาน • NGO ต่อต้านการพัฒนาแหล่งน้ำ • การบุกรุกที่ราชพัสดุและทางน้ำชลประทาน • สิทธิการใช้น้ำเป็นผลให้เกิดการขัดแย้งในการใช้น้ำ - เงิน • อำนาจการบริหารงบประมาณยังอยู่ที่ส่วนกลาง • ความต้องการงานนอกแผนจากผู้มีอิทธิพลในพื้นที่ • กรอบวงเงินงบประมาณมีอย่างจำกัด • ขาดงบประมาณและเจ้าภาพในการแก้ไขปัญหาเรื่องน้ำ - เทคโนโลยี • ภัยธรรมชาติและภาวะโลกร้อน • การเสียสมดุลย์ระบบนิเวศน์
กรมชล ประทาน สำนักพัฒนาแหล่งน้ำที่ 1-5 สำนัก ชลประ ทานที่ 1-n Model ที่ 2
แนวคิดการจัดทำโครงสร้าง (ใหม่)กลุ่มบริหารจัดการน้ำ กำหนดนโยบาย / วิสัยทัศน์ / ยุทธศาสตร์ / ตัวชี้วัด กรม วิชาการ / อำนวยการ / สนับสนุน / ควบคุม / กำกับ / ติดตาม / ตรวจสอบ / วิเคราะห์ / ประเมินผล สำนักชลประทาน นำนโยบายไปปฏิบัติ / จัดทำ / ดำเนินการ โครงการชลประทาน
แนวทางการดำเนินงานและประสานงานกับ Area Area ส่วนสนับสนุน (Supporting Team) ผู้รับบริการ สำนักพัฒนา แหล่งน้ำ ผวจ. สส.ในพื้นที่ สำนักชลประทานจังหวัด (Front Office) สำนัก ชลประทาน เกษตรกรในพื้นที่ สำนักคันคูน้ำ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำนักชลประทานส่งน้ำและบำรุงรักษา สำนักจัดรูปที่ดิน
ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 การพัฒนาแหล่งน้ำ ประเด็นยุทธศาสตร์ 3 การป้องกันและ บรรเทาภัยอันเกิดจากน้ำ สำนักพัฒนาแหล่งน้ำ สำนักพัฒนาแหล่งน้ำ สำนักชลประทาน หน่วยงานอื่นๆ สำนักชลประทาน สำนักชลประทาน ประเด็นยุทธศาสตร์ 2 การบริหารจัดการน้ำ ประเด็นยุทธศาสตร์ 4 การรักษาพื้นที่ทำการเกษตรในเขตชลประทาน
โครงสร้างสำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ (ปรับใหม่ Model I) สำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา ฝ่ายบริหารทั่วไป ส่วนอุทกวิทยา • กลุ่มงานปรับปรุงโครงการชลประทาน • กลุ่มงานบำรุงรักษาหัวงาน • กลุ่มงานบำรุงรักษาระบบชลประทาน • ธุรการ • การเงิน • พัสดุ • กลุ่มงานวิจัยและอุทกวิทยาประยุกต็ • กลุ่มงานตะกอนและคุณภาพน้ำ • กลุ่มงานสารสนเทศ • กลุ่มงานมาตรฐานอุทกวิทยา ส่วนความปลอดภัยเขื่อน ส่วนบริหารจัดการน้ำ ส่วนการใช้น้ำชลประทาน • กลุ่มงานวิศวกรรม • กลุ่มงานวิเคราะห์และติดตามพฤติกรรมเขื่อน • กลุ่มงานจัดสรรน้ำ 1 • กลุ่มงานจัดสรรน้ำ 2 • กลุ่มงานพัฒนาการบริหารจัดการน้ำ • ฝ่ายสถิติการใช้น้ำชลประทาน • กลุ่มงานวิจัยการใช้น้ำชลประทาน • ฝ่ายเผยแพร่การใช้น้ำชลประทาน • สถานีทดลองการใช้น้ำชลประทานที่ 1-8 ศูนย์ประสานติดตามสถานการณ์น้ำ ศูนย์อุทกวิทยาและบริหารน้ำ 8 ภาค
โครงสร้างสำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ (ปรับใหม่ Model 2) สำนักบริหารน้ำและอุทกวิทยา ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา ฝ่ายบริหารทั่วไป ส่วนอุทกวิทยา • กลุ่มงานปรับปรุงบำรุงรักษา 1 • กลุ่มงานปรับปรุงบำรุงรักษา 2 • กลุ่มงานปรับปรุงบำรุงรักษา 3 • ธุรการ • การเงิน • พัสดุ • กลุ่มงานวิจัยและอุทกวิทยาประยุกต์ • กลุ่มงานตะกอนและคุณภาพน้ำ • กลุ่มงานสารสนเทศ • กลุ่มงานมาตรฐานอุทกวิทยา • ศูนย์อุทกวิทยาและบริหารน้ำ 8 ภาค กลุ่มงานศูนย์ประสานการบริหารจัดการน้ำ ส่วนความปลอดภัยเขื่อนและอาคารชลประทาน ส่วนบริหารจัดการน้ำ ส่วนการใช้น้ำชลประทาน • กลุ่มงานจัดสรรน้ำ 1 • กลุ่มงานจัดสรรน้ำ 2 • กลุ่มงานพัฒนาการบริหารจัดการน้ำ • กลุ่มพัฒนาแบบจำลอง • ฝ่ายสถิติการใช้น้ำชลประทาน • กลุ่มงานวิจัยการใช้น้ำชลประทาน • ฝ่ายเผยแพร่การใช้น้ำชลประทาน • สถานีทดลองการใช้น้ำชลประทานที่ 1-8 • กลุ่มงานวิศวกรรม • กลุ่มงานวิเคราะห์และติดตามพฤติกรรมเขื่อน
สำนักงานจัดรูปที่ดินกลาง (ปรับใหม่) สำนักจัดรูปที่ดิน คณะกรรมการจัดรูปที่ดินกลาง คณะกรรมการจัดรูปที่ดินจังหวัด สำนักงานจัดรูปที่ดินจังหวัด 27 จังหวัด ฝ่ายแผนงานและประเมินผล ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มกฎหมายจัดรูปที่ดิน กลุ่มวิศวกรรม ฝ่ายกองทุนจัดรูปที่ดิน จัดตามโครงสร้างของกฎหมาย พรบ.จัดรูปที่ดิน 2517
โครงสร้างโครงการปฏิบัติการคันคูน้ำ 1-16 (ไม่เปลี่ยนแปลง) โครงการปฏิบัติการคันคูน้ำ ฝ่ายวิศวกรรม ฝ่ายอำนวยการ ฝ่ายปฎิบัติการก่อสร้าง • วางแผนพัฒนาระบบชลประทานในแปลงนา • ควบคุมแผนงานและงบประมาณ • จัดทำแผนงานและงบประมาณ • จัดทำรายงานต่างๆ • ขอประกาศ พรฎ กำหนดเขตดำเนินงานคันคูน้ำ และ พรบ.คันคูน้ำ • ธุรการ • การเงิน • พัสดุ • พัฒนาบุคคลากร • รักษาบริเวณ • งานประสานงาน • งานประชาสัมพันธ์ • วางแผนควบคุมงานก่อสร้าง • จัดทำแผนที่รูปแปลงกรรมสิทธิ์ • จัดทำแผนความต้องการวัสดุ • จัดทำแผนการใช้จ่ายเงินในการก่อสร้าง ฝ่ายส่งเสริมกิจกรรมต่อเนื่อง • ประชุมชี้แจงเกษตรกร • จัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทาน • ประสานเกษตรกรในการเสียสละที่ดิน • ให้ความรู้การบริหารจัดการน้ำ • ติดตามประเมินผลกลุ่มผู้ใช้น้ำ ฝ่ายช่างกล • ยานพาหนะ เครื่องจักรกลและสื่อสาร • ซ่อมแซมบำรุงรักษาเครื่องกว้านบานระบาย • ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์
โครงสร้างสำนักชลประทาน (ปรับใหม่ Model I) สำนักชลประทาน ส่วนวิศวกรรม ส่วนอำนวยการ ส่วนจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา • บริหารจัดการน้ำและแก้ไขปัญหาภัยอันเกิดจากน้ำ • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน • วางแผนปรับปรุงบำรุงรักษาและทางชลประทาน • จัดการความปลอดภัยเขื่อน • บริหารสินทรัพย์ • เก็บรวบรวมข้อมูลด้านน้ำและการเพาะปลูก • การถ่ายทอดและฝึกอบรมแก่เกษตรกรด้านชลประทาน • วางแผนพัฒนาลุ่มน้ำ • พิจารณาโครงการก่อสร้าง • และปรับปรุง • ออกแบบ • สำรวจภูมิประเทศ • ตรวจสอบและวิเคราะห์ • ธุรการ • การเงิน • พัสดุ • พัฒนาบุคคลากร • นิติการ • รักษาบริเวณ • แผนงานและงบประมาณ • โครงการพิเศษ • ติดตามประเมินผล ส่วนเครื่องจักรกล • ประชาสัมพันธ์ • ระบบฐานข้อมูล • ข้อมูลข่าวสาร • สารสนเทศเพื่อการบริหาร MIS GIS • ยาพาหนะและขนส่ง • เครื่องจักรกลงานดิน • สื่อสารและไฟฟ้า • ซ่อมบำรุง • สูบน้ำ • แผนงานด้านวิศวกรรมเครื่องกล สพน.
โครงสร้างสำนักชลประทาน (ปรับใหม่ Model 2) ผู้อำนวยการสำนักชลประทาน ส่วนบริหารจัดการน้ำ ส่วนวิชาการ ส่วนแผนงานและสารสนเทศ • บริหารจัดการน้ำและแก้ไขปัญหาภัยอันเกิดจากน้ำ • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน • วางแผนปรับปรุงบำรุงรักษาและทางชลประทาน • จัดการความปลอดภัยเขื่อนและอาคารชลประทาน • บริหารสินทรัพย์ • เก็บรวบรวมข้อมูลด้านน้ำและการเพาะปลูก • การถ่ายทอดและฝึกอบรมแก่เกษตรกรด้านชลประทาน • วางแผนพัฒนาลุ่มน้ำ • พิจารณาโครงการก่อสร้าง • และปรับปรุง • ออกแบบ • สำรวจภูมิประเทศ • ตรวจสอบและวิเคราะห์ • ฝ่ายแผนงานและงบประมาณ • ติดตามประเมินผล • ระบบฐานข้อมูล • สารสนเทศเพื่อการบริหาร MIS GIS ส่วนเครื่องจักรกล • ยาพาหนะและขนส่ง • เครื่องจักรกลงานดิน • สื่อสารและไฟฟ้า • ซ่อมบำรุง • สูบน้ำ • แผนงานด้านวิศวกรรมเครื่องกล ส่วนอำนวยการ • ธุรการ • การเงิน • พัสดุ • ข้อมูลข่าวสาร • พัฒนาบุคคลากร • นิติการ • รักษาบริเวณ • ประชาสัมพันธ์
โครงสร้างสำนักชลประทานจังหวัด (ปรับใหม่)/Front Office สำนักงานชลประทานจังหวัด กลุ่มงานวิศวกรรม ฝ่ายอำนวยการ กลุ่มงานบริหารจัดการน้ำ • พิจารณาโครงการเบื้องต้น • การวางแผนพัฒนาแหล่งน้ำ • แผนงานและงบประมาณ • สำรวจและออกแบบ • งานรวบรวมข้อมูล MIS GIS • ธุรการ • การเงิน • พัสดุ • บริหารจัดการน้ำและแก้ไขปัญหาภัยอันเกิดจากน้ำ • บริหารสินทรัพย์ • วางแผนการปลูกพืช • เก็บรวบรวมข้อมูลด้านน้ำ • และการเพาะปลูก • จัดตั้งและติดตามกลุ่มผู้ใช้น้ำ • การถ่ายทอดและฝึกอบรมแก่เกษตรกรด้านชลประทาน • การเจ้าหน้าที่ • รักษาบริเวณ • งานประสานงาน • งานประชาสัมพันธ์ กลุ่มส่งน้ำและบำรุงรักษา 1-N • ควบคุมการส่งน้ำและบำรุงรักษา • ประสานงานกับพื้นที่ • การถ่ายทอดและฝึกอบรมแก่เกษตรกรด้านชลประทาน • ควบคุมงานก่อสร้าง/ปรับปรุงบำรุงรักษา ฝ่ายช่างกล • ยานพาหนะและสื่อสาร • ซ่อมแซมบำรุงรักษาเครื่องกว้านบานระบาย • ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์
โครงสร้างโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา (ปรับใหม่) โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา กลุ่มงานวิศวกรรม ฝ่ายอำนวยการ กลุ่มงานบริหารจัดการน้ำ • พิจารณาโครงการเบื้องต้น • แผนงานและงบประมาณ • สำรวจและออกแบบ • วางแผนงานปรับปรุงบำรุงรักษา • งานรวบรวมข้อมูล MIS GIS • ธุรการ • การเงิน • พัสดุ • การเจ้าหน้าที่ • รักษาบริเวณ • งานประสานงาน • งานประชาสัมพันธ์ • บริหารจัดการน้ำและแก้ไขปัญหาภัยอันเกิดจากน้ำ • บริหารสินทรัพย์ • วางแผนการปลูกพืช • เก็บรวบรวมข้อมูลด้านน้ำ • และการเพาะปลูก • จัดตั้งและติดตามกลุ่มผู้ใช้น้ำ • การถ่ายทอดและฝึกอบรมแก่เกษตรกรด้านชลประทาน ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา 1-N • ควบคุมการส่งน้ำและบำรุงรักษา • ประสานงานกับพื้นที่ • การถ่ายทอดและฝึกอบรมแก่เกษตรกรด้านชลประทาน • ควบคุมงานปรับปรุงบำรุงรักษา ฝ่ายช่างกล • ยานพาหนะและสื่อสาร • ซ่อมแซมบำรุงรักษาเครื่องกว้านบานระบาย • ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์
สายทางการก้าวหน้า (Carrier Part) อำนวยการ ผู้อำนวยการสำนักชลประทาน (ผส.ชป.) ผู้อำนวยการสำนัก (ระดับ 9.) ผู้อำนวยการส่วน/กอง (ระดับ 8) วิชาการ ผู้อำนวยการส่วนวิศวกรรม (ผวศ.ชป.) ผู้อำนวยการส่วนจัดสรรน้ำ (ผบร.ชป.) ผอ.โครงการชลประทาน (ผอ.คป.) ผอ.โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา (ผอ.คบ.) ทั่วไป หัวหน้าฝ่ายวิศวกรรม (ฝวศ.คป./ฝวศ.คบ.) หัวหน้าฝ่ายจัดสรรน้ำฯ (ฝจน.คป./ฝจน.คบ.) หัวหน้าฝ่าย/หัวหน้ากลุ่มงาน สำนักชลประทาน หัวหน้าฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา (ฝสบ.คป.) หัวหน้าฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา (ฝสบ.คบ.)
อำนาจหน้าที่ (ใหม่) และยุทธศาสตร์ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 การพัฒนาแหล่งน้ำ โครงสร้างสำนักชลประทาน • ควบคุมและดำเนินการก่อสร้างโครงการชลประทานขนาดเล็กเร่งด่วน และโครงการอื่นตามพื้นที่ลุ่มน้ำตามที่กรมมอบหมาย • ดำเนินการเกี่ยวกับการกัก เก็บ รักษา ควบคุม ส่ง ระบาย หรือแบ่งน้ำเพื่อการเกษตรกรรม การสาธารณูปโภค การอุตสาหกรรม การคมนาคมทางน้ำ ติดตามและประเมินความปลอดภัยเขื่อน รวมทั้งการป้องกันความเสียหายอันเกิดจากน้ำภายในพื้นที่ลุ่มน้ำที่รับผิดชอบ • บำรุงรักษาอาคารชลประทาน ถนนชลประทาน และปรับปรุงแหล่งน้ำธรรมชาติให้เกิดประโยชน์ในการอุปโภคและบริโภค • แก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำและป้องกันบรรเทาอุทกภัย รวมทั้งการป้องกันและแก้ไขปัญหาเรื่องคุณภาพน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำที่รับผิดชอบ • ศึกษาและจัดทำรายงานเบื้องต้นโครงการพัฒนาแหล่งน้ำเร่งด่วน และงานปรับปรุงในเขตพื้นที่ลุ่มน้ำที่รับผิดชอบ • ใช้เทคโนโลยีและความรู้สมัยใหม่ในการบริหารจัดการน้ำและ ให้ความรู้กับน้ำแก่ผู้ใช้น้ำ • ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย ประเด็นยุทธศาสตร์ 2 การบริหารจัดการน้ำ ประเด็นยุทธศาสตร์ 3 การป้องกันและบรรเทาภัย อันเกิดจากน้ำ ประเด็นยุทธศาสตร์ 4 การรักษาพื้นที่ทำการเกษตร ในเขตชลประทาน
สรุปข้อเสนอการปฏิรูปการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินสรุปข้อเสนอการปฏิรูปการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน การจัดความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานส่วนกลาง-ส่วนภูมิภาค-ส่วนท้องถิ่น • ภายใน 5 ปี • คงไว้ - ส่วนกลาง • - ส่วนภูมิภาค • - ส่วนท้องถิ่น • แต่ถ่ายโอนงาน งบประมาณ บุคลากร • จากส่วนกลางไปส่วนภูมิภาค • ภายใน 10 ปี • คงไว้ซึ่งราชการส่วนภูมิภาคแต่ให้ • ภูมิภาคมีแค่ระดับจังหวัดเท่านั้น • แปรสภาพอำเภอ-ตำบล-หมู่บ้านให้ • เป็นหน่วยการปกครองท้องถิ่นใน • รูปแบบ เทศบาล และ อบต. ทั้งหมด • ภายใน 2563 • ให้มีเฉพาะการบริหารราชการ • ส่วนกลางและท้องถิ่นเท่านั้น • ภูมิภาคเป็นท้องถิ่นทั้งหมด • (ยกเลิกราชการบริหารส่วนภูมิภาค) • หน้าที่ส่วนกลาง • วางแผนกลยุทธ์ • บริหารเศรษฐกิจในภูมิภาค • สนับสนุนด้านบุคลากร เทคโนโลยี • กำกับและประเมินผล • ดำเนินกิจกรรมประเภท Pool down • service ระดับชาติ ส่วนกลาง ส่วนกลาง สำนักงานรัฐบาล หน่วยงานอิสระ ในกำกับ ส่วนภูมิภาค จังหวัดในฐานะ ท้องถิ่น จังหวัด ส่วนท้องถิ่น หน่วยการปกครองท้องถิ่น ตามเขตพื้นที่ต่าง ๆ ในจังหวัด พื้นที่เมือง พื้นที่ชนบท เทศบาล อบต. เทศบาล อบต. ชุมชน ชุมชน หมู่บ้าน หมู่บ้าน ที่มา: เอกสารประกอบการสัมมนา เรื่อง “การปฏิรูปการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน” รศ.ดร. ศุภชัย ยาวะประภาษ (เมษายน 2544) สำนักงาน ก.พ..
ถ่ายโอนกิจกรรมสู่ท้องถิ่น“CEO”ถ่ายโอนกิจกรรมสู่ท้องถิ่น“CEO” กิจกรรมที่กรมดำเนินการในปัจจุบัน อนาคต ส่วนกลาง (Consultant) 5 ปี 10 ปี 15 ปี ช่วงระยะเวลาการปรับโครงสร้างที่ควรเป็น 100 คณะทำงาน 1 คณะทำงาน 2 50 ก.พ.ร. 1 ท.น. 2 ก.พ.ร. 2 กรมชลฯ 1 กรมในอนาคตจะบริหารในเชิงธุรกิจมากขึ้น 0 ส.ว. ท.น.1 5 ปี (พ.ศ.2548) 10 ปี (พ.ศ.2553) 15 ปี (พ.ศ.2558) 20 ปี (พ.ศ.2563) 26 ก.พ. 2544แถลงนโยบายต่อรัฐสภา อ้างอิง
โครงสร้างสำนักชลประทาน (ปรับใหม่ Model 2) ผู้อำนวยการสำนักชลประทาน ส่วนจัดสรรน้ำฯ ส่วนวิศวกรรม ส่วนปฎิบัติการ • บริหารจัดการน้ำและแก้ไขปัญหาภัย อันเกิดจากน้ำ • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน • วางแผนปรับปรุงบำรุงรักษาและทางชลประทาน • จัดการความปลอดภัยเขื่อน • บริหารสินทรัพย์ • เก็บรวบรวมข้อมูลด้านน้ำ • และการเพาะปลูก • การถ่ายทอดและฝึกอบรมแก่เกษตรกรด้านชลประทาน • วางแผนพัฒนาลุ่มน้ำ • พิจารณาโครงการก่อสร้าง • และปรับปรุง • ออกแบบ • สำรวจภูมิประเทศ • ตรวจสอบและวิเคราะห์ • ฝ่ายแผนงานและงบประมาณด้านก่อสร้าง • ฝ่ายปรับปรุงแหล่งน้ำธรรมชาติ • ฝ่ายโครงการพิเศษ • โครงการก่อสร้าง 1-2 กลุ่มแผนงานและสารสนเทศ ส่วนเครื่องจักรกล • แผนงานและงบประมาณ • ติดตามประเมินผล • ประชาสัมพันธ์ • ระบบฐานข้อมูล • ข้อมูลข่าวสาร • สารสนเทศเพื่อการบริหาร MIS GIS • ยาพาหนะและขนส่ง • เครื่องจักรกลงานดิน • สื่อสารและไฟฟ้า • ซ่อมบำรุง • สูบน้ำ • แผนงานด้านวิศวกรรมเครื่องกล ส่วนอำนวยการ • ธุรการ • การเงิน • พัสดุ • พัฒนาบุคคลากร • นิติการ • รักษาบริเวณ