1 / 72

การนำผลการทดสอบ O-NET ไปใช้ พัฒนาการเรียนการสอน และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

การนำผลการทดสอบ O-NET ไปใช้ พัฒนาการเรียนการสอน และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน. โดย สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). samphan@niets.or.th. สทศ. กับการส่งเสริมการประเมินผลให้มีความเชื่อมโยงในทุกระดับ. เป้าหมาย : การวัดและประเมินผลการเรียนรู้มีความเชื่อมโยงทักทอทุกระดับ.

alika
Download Presentation

การนำผลการทดสอบ O-NET ไปใช้ พัฒนาการเรียนการสอน และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การนำผลการทดสอบ O-NET ไปใช้ พัฒนาการเรียนการสอน และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดย สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)

  2. samphan@niets.or.th

  3. สทศ.กับการส่งเสริมการประเมินผลให้มีความเชื่อมโยงในทุกระดับสทศ.กับการส่งเสริมการประเมินผลให้มีความเชื่อมโยงในทุกระดับ เป้าหมาย: การวัดและประเมินผลการเรียนรู้มีความเชื่อมโยงทักทอทุกระดับ ระดับสากล: PISA ระดับชาติ: O-NET ระดับสังกัด : NT ระดับเขตพื้นที่ : LAS ระดับสถานศึกษา : มาตรฐานของระบบ วิธีการ และเครื่องมือวัดและ ประเมินผล โดยเฉพาะพิจารณาแบบรายงานผลการเรียน (ปพ.1) ระดับชั้นเรียน : 4 องค์ประกอบที่รายงานในแบบบันทึกผลการเรียน (ปพ. 5) samphan@niets.or.th

  4. การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา จุดมุ่งหมายการศึกษา (Objective ; O) (เป้าหมาย O-NET กพ.56) แผนการสอน แผนการประเมินผู้เรียน/วิจัย การเรียนการสอน (Learning ; L) (สาระการเรียนรู้แกนกลางของตัวชี้วัด ป.6 (4,5,6) ม.3 (1,2,3) ม.6 (4,5,6) ตัวชี้วัดที่ 6,7 (สมศ.รอบสาม) การวัดและประเมินผล (Evaluation ; E) สอบปลายภาคต้น/ปลาย ใช้ Test Blueprint และรูปแบบข้อสอบ O-NET 4 samphan@niets.or.th

  5. ปัจจัยความสำเร็จในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาปัจจัยความสำเร็จในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา คนและพฤติกรรมของคน 5 กลุ่ม สทศ.กับการส่งเสริมการประเมินผลให้มีความเชื่อมโยงในทุกระดับ 5. ผู้บริหารระดับเขตพื้นที่ฯ 4. ผู้บริหารสถานศึกษา 3. หัวหน้ากลุ่มสาระ 2. ครูแต่ละวิชา 1. นักเรียน

  6. การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบประจำวิชาการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบประจำวิชา 1. การทดสอบย่อยประจำหน่วยการเรียนรู้ * ข้อสอบอัตนัย * ข้อสอบเติมคำ 2. การทดสอบกลางภาค * ข้อสอบปรนัย * ข้อสอบอัตนัย 3. การทดสอบปลายภาค (วัดเนื้อหาสาระทั้งภาคเรียน อิง Test Blueprint ของ O-NET) * ข้อสอบปรนัย 2 รูปแบบตามข้อสอบ O-NET เน้นการเขียนคิดวิเคราะห์

  7. สรุปผลการประเมิน(ปพ.5)

  8. รหัสวิชา ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาที่ 1 ห้องที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ภาคเรียนที่ 2

  9. รหัสวิชา ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาที่ 1 ห้องที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ภาคเรียนที่ 2

  10. รหัสวิชา ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาที่ 1 ห้องที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ภาคเรียนที่ 2

  11. samphan@niets.or.th

  12. บัตรข้อสอบ (Item Card) • รูปแบบของข้อสอบ O-NET แต่ละวิชามีไม่เกิน 2 รูปแบบ คือ • ปรนัย แบบเลือกตอบ มีคำตอบถูกที่สุด 1 คำตอบ (มีคะแนนไม่เกิน 80% ของคะแนนทั้งหมด) ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 และ มัธยมศึกษาปีที่ 3 มี 4 ตัวเลือก ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6มี 5 ตัวเลือก • รูปแบบอื่นๆ (มีคะแนนไม่เกิน 20% ของคะแนนทั้งหมด) ได้แก่ (2.1) ปรนัย แบบเลือกตอบ ที่มีคำตอบถูกมากกว่า 1 คำตอบ (2.2) แบบเลือกคำตอบจากแต่ละหมวดที่สัมพันธ์กัน (2.3) แบบระบายคำตอบเป็นค่า/ตัวเลข samphan@niets.or.th

  13. ผลการทดสอบ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างปีการศึกษา 2551-2555 15

  14. ผลการทดสอบ O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างปีการศึกษา 2551-2555 16

  15. ผลการทดสอบ O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างปีการศึกษา 2551-2555 17

  16. องค์ประกอบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้องค์ประกอบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณภาพผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 18

  17. O-NETเป็นแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์อิงมาตรฐาน (Standard-based Achievement test) กลุ่มสาระ สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดชั้นปี/ตัวชี้วัดช่วงชั้น/สาระการเรียนรู้แกนกลาง คุณภาพผู้เรียน ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทำอะไรได้ ความคิดหลัก ของตัวชี้วัด สาระสำคัญ ความคิดรวบยอด samphan@niets.or.th

  18. การสอบ O-NET • วัดตามมาตรฐานและตัวชี้วัดตามหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ที่เป็นจุดเน้นของ สพฐ. • สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา • จัดทำผังการออกข้อสอบ (Test Blueprint) ที่ให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง (ผู้แทนจาก สพฐ. ผู้บริหารสถานศึกษา ครู ศึกษานิเทศก์ คณาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิ) มีส่วนร่วมพิจารณา samphan@niets.or.th

  19. การสอบ O-NET • ให้ครูที่สังกัด สพฐ. (สพฐ. ส่งรายชื่อครูที่มีคุณสมบัติ ตามที่ สทศ. กำหนดเสนอให้ สทศ. พิจารณา) มีส่วนร่วม ในการออกข้อสอบ • พัฒนามาตรฐานของการทดสอบ (standards of testing) ให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น • จัดทำคลังข้อสอบ (Item bank) • จัดตั้ง Examination Board

  20. นำผลคะแนน O-NET ไปใช้ เพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพการศึกษา • ปรับปรุงและพัฒนาการเรียน / การสอน / การบริหาร • ประกันคุณภาพการศึกษา (มาตรา 9(3), 48, 49) 2.1 การประกันคุณภาพภายใน 2.2 การประเมินคุณภาพภายนอก • เป็นส่วนหนึ่งของการคคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับสูงขึ้น (มาตรา26 วรรค2) • เป็นองค์ประกอบหนึ่งในการตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน ที่จบหลักสูตรฯ ในสัดส่วน 80 : 20 ตั้งแต่ปีการศึกษา 2555 เป็นต้นไป

  21. สมัครและเข้ารับการทดสอบสมรรถนะครูสมัครและเข้ารับการทดสอบสมรรถนะครู ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของสทศ. ผ่าน 60% รับวุฒิบัตรของสทศ. ไม่ผ่าน 60% • ร.ร.เครือข่ายสทศ.ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ • ร่วมกับสทศ. • พัฒนาสมรรถนะครูด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ • พัฒนาการวัดด้านคุณลักษณะพึงประสงค์ อ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ รับการพัฒนาสมรรถนะครูด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

  22. การสอบ O-NET ปีการศึกษา 2556 24

  23. ผลสอบ O-NET ปีการศึกษา 2555

  24. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2555 จำแนกตามวิชา (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) 26 หมายเหตุ จำนวนผู้เข้าสอบ (N)* ไม่รวมเด็กพิเศษ ได้แก่ นักเรียนที่มีความบกพร่องทางด้านต่าง ๆ และนักเรียนพิการซ้ำซ้อน

  25. คุณภาพแบบทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2555 จำแนกตามวิชา 27

  26. ผังการสร้างข้อสอบ O-NET ปีการศึกษา 2556

  27. ผังการออกข้อสอบ O-NET ช่วงชั้นที่ 3 (ม.3) ปีการศึกษา 2556

  28. วิชาภาษาไทย ม.3

  29. วิชาสังคมศึกษาฯ ม.3

  30. วิชาภาษาอังกฤษ ม.3

  31. วิชาคณิตศาสตร์ ม.3

  32. วิชาวิทยาศาสตร์ ม.3

  33. วิชาสุขศึกษาฯ ม.3

  34. วิชาศิลปะ ม.3

  35. วิชาการงานอาชีพฯ ม.3

  36. ครูผู้สอนและผู้บริหารทุกคนควรต้องดูครูผู้สอนและผู้บริหารทุกคนควรต้องดู การเผยแพร่แนวการทดสอบทางwww.niets.or.th O-NET 1. ผังการออกข้อสอบ (Test Blueprint) 2. รูปแบบข้อสอบ (Item Form) 3. ตัวอย่างข้อสอบแต่ละรูปแบบ 4. ตัวอย่างกระดาษและเกณฑ์การให้คะแนน 38

  37. รูปแบบข้อสอบ O-NET ปีการศึกษา 2556

  38. ตัวอย่างข้อสอบ O-NET ปีการศึกษา 2555 แต่ละวิชามีข้อสอบ 2 รูปแบบ 1. ข้อสอบปรนัยแบบเลือกตอบ ให้เลือกคำตอบที่ถูกที่สุด (อย่างต่ำ 80%) (ป.6 และ ม.3 ใช้ 4 ตัวเลือก ม.6 ใช้ 5 ตัวเลือก ) 2. รูปแบบอื่นๆ (ไม่เกิน 20%) ประกอบด้วย 2.1 แบบเติมคำให้ระบายคำตอบ หรือ 2.2 แบบมีคำตอบที่ถูกหลายคำตอบ หรือ 2.3 แบบให้เลือกคำตอบจากแต่ละกลุ่มที่สัมพันธ์กัน เช่น วิชาคณิตศาสตร์ใช้แบบเติมคำ

  39. 1. แบบเลือกตอบ 1 คำตอบ ที่ถูกที่สุด 1.1 แบบ 4 ตัวเลือก

  40. 1. แบบเลือกตอบ 1 คำตอบ ที่ถูกที่สุด 1.2 แบบ 5 ตัวเลือก

  41. 2. แบบหลายตัวเลือก และมีคำตอบ 1 คำตอบ

  42. 3. แบบหลายตัวเลือก และ มี 2 คำตอบที่ถูกต้อง 3.1 แบบ 4 ตัวเลือก

  43. 3. แบบหลายตัวเลือก และ มี 2 คำตอบที่ถูกต้อง 3.2 แบบ 5 ตัวเลือก

  44. 4 .แบบเลือกตอบมีหลายตัวเลือก และมีคำตอบมากกว่า 1 คำตอบ

  45. 5. แบบเลือกตอบจากแต่ละหมวดที่สัมพันธ์กัน

  46. 5. แบบเลือกตอบจากแต่ละหมวดที่สัมพันธ์กัน (ต่อ)

  47. 6. แบบระบายคำตอบที่เป็นค่า/ตัวเลข

  48. ตัวอย่างกระดาษคำตอบO-NET ระดับชั้น ม.3 ปีการศึกษา 2555

More Related