600 likes | 1.96k Views
การพัฒนาคุณภาพงานบริการไตเทียม. เรื่อง แนวทางปฏิบัติ เพื่อป้องกันการใช้ตัวกรองเลือดผิดคน โดย งานบริการไตเทียม โรงพยาบาลนครปฐม. หลักคิดสำคัญ ( Core values and Concepts ). Performance. ตัวชี้วัด. Study/Learning. เป้าหมาย วัตถุประสงค์. Do. Act/Improve. มาตรฐาน. Criteria/standard.
E N D
การพัฒนาคุณภาพงานบริการไตเทียมการพัฒนาคุณภาพงานบริการไตเทียม เรื่อง แนวทางปฏิบัติ เพื่อป้องกันการใช้ตัวกรองเลือดผิดคน โดย งานบริการไตเทียม โรงพยาบาลนครปฐม
หลักคิดสำคัญ ( Core values and Concepts) Performance ตัวชี้วัด Study/Learning เป้าหมาย วัตถุประสงค์ Do Act/Improve มาตรฐาน Criteria/standard Purpose Plan/design Process ประเด็นสำคัญ ความเสี่ยงสำคัญ ความต้องการสำคัญ บริบท Context
งานไตเทียม ให้บริการผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย • ให้บริการล้างไตทางช่องท้อง • ให้บริการเปลี่ยนถ่าย Plasmapheresis • ให้บริการใส่สายสวนทางหลอดเลือดดำ • ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม • ให้ข้อมูลและคำปรึกษาเกี่ยวกับโรคไตและการเลือกวิธีบำบัดทดแทนไต
หลักการและแนวคิด การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม เป็นขบวนการนำเลือดของผู้ป่วยมาดึงเอาของเสียออกจากเลือด โดยผ่านตัวกรองเลือด ตามหลักการวิทยาศาสตร์ ทั้งนี้ ต้องอาศัย • เครื่องไตเทียม • ตัวกรองเลือด • น้ำยาฟอกเลือดและระบบน้ำบริสุทธิ์ การฟอกเลือดนั้น ต้องทำ 2-3 ครั้ง/สัปดาห์ จึงมีความจำเป็นต้องนำตัวกรองมาใช้ซ้ำ
หลักคิดสำคัญ ( Core values and Concepts) Performance ตัวชี้วัด Study/Learning มาตรฐาน เป้าหมาย วัตถุประสงค์ Do Act/Improve Criteria/standard Purpose Plan/design Process ประเด็นสำคัญ ความเสี่ยงสำคัญ ความต้องการสำคัญ บริบท Context
มาตรฐาน (Criteria/Standard) งานไตเทียม ให้บริการตามมาตรฐานวิชาชีพ และให้บริการแบบองค์รวมโดยบุคลากรที่มีความชำนาญเฉพาะทาง ร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ
หลักคิดสำคัญ ( Core values and Concepts) Performance ตัวชี้วัด Study/Learning เป้าหมาย วัตถุประสงค์ Do Act/Improve มาตรฐาน Criteria/standard Plan/design Process ประเด็นสำคัญ ความเสี่ยงสำคัญ ความต้องการสำคัญ บริบท Context
เป้าหมายและวัตถุประสงค์เป้าหมายและวัตถุประสงค์ ผู้ป่วยทุรายได้รับการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการใช้ตัวกรองเลือดผิดคน
หลักคิดสำคัญ ( Core values and Concepts) Performance ตัวชี้วัด Study/Learning เป้าหมาย วัตถุประสงค์ Do Act/Improve มาตรฐาน Criteria/standard Plan/design ประเด็นสำคัญ ความเสี่ยงสำคัญ ความต้องการสำคัญ Process บริบท Context
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมนั้น ต้องทำ 2-3 ครั้ง/สัปดาห์ จึงมีความจำเป็นต้องน้ำตัวกรองเลือดกลับมาใช้ซ้ำ (REUSE) เพื่อลดค่าใช้จ่าย
ประเด็นสำคัญ/ความเสี่ยงสำคัญประเด็นสำคัญ/ความเสี่ยงสำคัญ การใช้ซ้ำของตัวกรองเลือด 20 ครั้ง/ราย (ตามมาตรฐานของการใช้ตัวกรองเลือดซ้ำ) 18 คน/วัน
ความเสี่ยงในการใช้ตัวกรองเลือดผิดคนความเสี่ยงในการใช้ตัวกรองเลือดผิดคน Infectious marker ปกติ และผิดปกติ • Hepatitis Virus A • Hepatitis Virus B • Hepatitis Virus C • HIV
ข้อมูลทางสถิติ จากการเก็บข้อมูลทางคุณภาพของงานบริการไตเทียมปี พ.ศ. 2553 อุบัติการณ์การใช้ตัวกรองเลือดผิดคน 1 ครั้ง ในเดือนเมษายน ที่ผ่านมา
ตัวชี้วัด( Performance ) • อัตราการใช้ตัวกรองเลือดผิดคน เท่ากับ ศูนย์
วัตถุประสงค์ • เพื่อให้ผู้ป่วยได้ใช้ตัวกรองเลือดได้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ • เพื่อวัดและประเมินผลลัพธ์ของคุณภาพการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการฟอกเลือด
หลักคิดสำคัญ ( Core values and Concepts) Performance ตัวชี้วัด Study/Learning เป้าหมาย วัตถุประสงค์ Do Act/Improve มาตรฐาน Criteria/standard Purpose Plan/design ประเด็นสำคัญ ความเสี่ยงสำคัญ ความต้องการสำคัญ บริบท Context
การวางแผนการปฏิบัติ (plan) • จากอุบัติการณ์ ที่เกิดขึ้นหลังจากแก้ไขโดยการเปลี่ยนตัวกรองเลือดตัวใหม่ และทิ้งตัวกรองตัวที่ใช้ผิดนั้นไป ได้ตรวจดูผลเลือดของผู้ป่วยทั้ง 2 รายแล้วพบว่าผลเลือดปกติทั้งคู่ ได้แจ้งแพทย์เจ้าของไข้รับทราบแล้วไม่มีการรักษาเพิ่มเติมแต่อย่างใด และเขียนรายงานอุบัติการณ์ส่งฝ่ายคัดกรองความเสี่ยงของโรงพยาบาลตามขั้นตอนแล้วได้นำข้อมูลนี้มาประชุมในหน่วยงานเพื่อวางแผนป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้อีกและจัดทำแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนเพื่อให้ปฏิบัติไปในแนวทางเดียวกันโดยมติของที่ประชุมเป็นเอกฉันท์จัดทำแนวทางปฏิบัติเรื่อง “ การจัดเตรียมตัวกรองเลือดเพื่อใช้ในการฟอกเลือด
การวางแผนการปฏิบัติ (plan) • จัดทำแนวทางปฏิบัติเรื่อง “ การจัดเตรียมตัวกรองเลือดเพื่อใช้ในการฟอกเลือด • วัตถุประสงค์ - เพื่อให้ปฏิบัติในแนวทางเดียวกัน • - ระบุตัวผู้ป่วยถูกต้อง • - ป้องกันการใช้ตัวกรองเลือดผิดคน • เป้าหมาย - เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย • ขอบเขต - ใช้ในงานบริการไตเทียมโรงพยาบาลนครปฐม • วิธีปฏิบัติขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนการเตรียมตัวกรองเพื่อใช้กับผู้ป่วยในแต่ละรอบ • 1.1 พยาบาลหัวหน้าเวรระบุเครื่องฟอกเลือดว่าจะใช้กับผู้ป่วยรายใด • 1.2 ผู้ช่วยหยิบตัวกรองเลือดของผู้ป่วยรายนั้นๆจากชั้นวางตัวกรองมาไว้ที่เครื่องไตเทียมตามที่ระบุไว้ • 1.3 พยาบาลเจ้าของไข้ตรวจดูซ้ำอีกครั้งว่าถูกต้องหรือไม่โดยตรวจสอบกับ แฟ้ม HD ของผู้ป่วยหากพบว่าผิดพลาดให้จัดเปลี่ยนให้ถูกต้องและเก็บข้อมูลลงในแบบบันทึกความเสี่ยงประจำวันเพื่อรวบรวมไว้ประชุมในหน่วยงานและจัดส่งทีม QA ของโรงพยาบาลต่อไป • ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนการรับผู้ป่วยมาฟอกเลือด • 2.1 เมื่อผู้ป่วยมาถึงให้ระบุตัวผู้ป่วยให้ตรงกับตัวกรองและ chartของผู้ป่วยโดยพยาบาลเจ้าของไข้พร้อมทั้งผู้ป่วยหรือญาติร่วมกันตรวจสอบ กรณีเป็นผู้ป่วยในและไม่มีญาติ ให้ตรวจสอบกับป้ายข้อมือที่ระบุชื่อไว้และchart ของผู้ป่วย
การวางแผนการปฏิบัติ (plan) • 2.2 พยาบาลเจ้าของไข้เตรียมตัวกรองเลือดเพื่อทำการฟอกเลือดกับผู้ป่วยตามมาตรฐานการเตรียมตัวกรองเลือด (dialyzerpreparation ) • ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนสิ้นสุดการฟอกเลือด • 3.1 เมื่อพยาบาลเจ้าของไข้คืนเลือดกลับสู่ตัวผู้ป่วยเรียบร้อยแล้วให้ปลดสายส่งเลือดพร้อมตัวกรองเลือดทั้งชุดใส่ลงในถังรองรับของผู้ป่วยแต่ละราย ( ตามแนวทางปฏิบัติการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อของงานไตเทียม ) พร้อมป้ายชื่อผู้ป่วยที่จัดทำไว้ไปที่อ่างล้างตัวกรองแยกตามชนิดตัวกรองติดเชื้อหรือไม่ติดเชื้อ • 3.2 พยาบาลหรือผู้ช่วยทำการล้างตัวกรองเลือดเพื่อนำกลับมาใช้ซ้ำตามมาตรฐานการล้างตัวกรองเพื่อใช้ซ้ำ ( reprocessing dialyzer ) • 3.3 จัดเก็บตัวกรองเข้าที่พร้อมแขวนป้ายชื่อที่ระบุตัวผู้ป่วยแต่ละราย • 3.4 เมื่อจะนำมาใช้ซ้ำครั้งต่อไปให้ปฏิบัติตั้งแต่ขั้นตอนที่ 1 – 3 เช่นเดิม
ขั้นตอนการปฏิบัติ (do) • - จัดทำป้ายชื่อเพื่อระบุตัวผู้ป่วยโดยผู้ป่วยที่มีผลเลือดปกติ ใช้ตัวอักษรสีน้ำเงิน ส่วนผู้ป่วยผลเลือดมี virus A , B , C ให้เขียนตัวอักษรสีแดง และเขียนระบุ A, B, C ด้วยสีแดงที่ตัวกรองด้วย • - ทำชั้นวางตัวกรองเลือดเพี่อแยกชั้นระหว่างตัวกรองติดเชื้อและไม่ติดเชื้อออกจากกัน • - ปฏิบัติตามแนวทางที่จัดทำขึ้นทุกรอบ ทุกวันอย่างสม่ำเสมอ
ประเมินผลการปฏิบัติ (check) • - ตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติงานโดยพยาบาลควบคุมคุณภาพและพยาบาลหัวหน้างานไตเทียม • - บันทึกอุบัติการณ์ประจำวัน • - สรุปผลการปฏิบัติงานในที่ประชุมประจำเดือนของหน่วยงาน • - รายงานผลต่อคณะกรรมการ QA ของโรงพยาบาลก่อนวันที่ 5 ของเดือน
หลักคิดสำคัญ ( Core values and Concepts) Performance ตัวชี้วัด Study/Learning Act/Improve เป้าหมาย วัตถุประสงค์ Do มาตรฐาน Criteria/standard Purpose Plan/design Process ประเด็นสำคัญ ความเสี่ยงสำคัญ ความต้องการสำคัญ บริบท Context
ขั้นตอนปรับปรุงและแก้ไข (ACT) • หากมีปัญหาในการปฏิบัตินำเข้าที่ประชุมเพื่อหาแนวทางแก้ไขที่เหมาะสมต่อไป ตามขบวนการ PLAN – DO – CHECK – ACT ต่อไป เพื่อพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
แผนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพงานบริการไตเทียมแผนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพงานบริการไตเทียม
สรุปผลการดำเนินการ ไม่พบอุบัติการณ์การใช้ตัวกรองเลือดผิดคน และยังคงใช้แนวทางปฏิบัตินี้ไปอย่างต่อเนื่อง
Process ( P-D-C-A ) ขั้นตอนการเตรียมตัวกรองในแต่ละรอบ • พยาบาลหัวหน้าเวรระบุเครื่องฟอกเลือดเพื่อใช้กับผู้ป่วย
ขั้นตอนการเตรียมตัวกรองขั้นตอนการเตรียมตัวกรอง • ผู้ช่วยหยิบตัวกรองเลือดของผู้ป่วยรายนั้นๆจากชั้นวางตัวกรองมาไว้ที่เครื่องไตเทียมตามที่ระบุ
พยาบาลเจ้าของไข้ตรวจซ้ำอีกครั้งพยาบาลเจ้าของไข้ตรวจซ้ำอีกครั้ง
เตรียมตัวกรองให้พร้อมที่เครื่องฟอกเลือดเตรียมตัวกรองให้พร้อมที่เครื่องฟอกเลือด
ขั้นตอนผู้ป่วยมาฟอกเลือดเมื่อผู้ป่วยมาถึงให้ระบุตัวผู้ป่วยให้ตรงกับตัวกรอง และ Chart
พยาบาลเจ้าของไข้เตรียมตัวกรองเลือดเพื่อทำการฟอกเลือดให้กับผู้ป่วยพยาบาลเจ้าของไข้เตรียมตัวกรองเลือดเพื่อทำการฟอกเลือดให้กับผู้ป่วย
ขั้นตอนการสิ้นสุด • พยาบาลเจ้าของไข้คืนเลือดให้ผู้ป่วย
ปลดสายส่งเลือดทั้งชุดใส่ลงในถังรองรับตามชื่อผู้ป่วยแต่ละรายพร้อมป้ายชื่อผู้ป่วยที่จัดทำไว้ไปที่อ่างล้างตัวกรองแยกตามชนิดตัวกรองเลือดปลดสายส่งเลือดทั้งชุดใส่ลงในถังรองรับตามชื่อผู้ป่วยแต่ละรายพร้อมป้ายชื่อผู้ป่วยที่จัดทำไว้ไปที่อ่างล้างตัวกรองแยกตามชนิดตัวกรองเลือด
อ่างล้างตัวกรองติดเชื้อ/ไม่ติดเชื้ออ่างล้างตัวกรองติดเชื้อ/ไม่ติดเชื้อ
พยาบาลหรือผู้ช่วยล้างตัวกรองจัดเก็บตัวกรองเข้าที่พร้อมป้ายแขวนที่ระบุผู้ป่วยแต่ละราย