1 / 103

ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติ

ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติ. Classical Theory and The Keynesian Revolution. Classical Theory. Classical Economist : Adam Smith ก่อน ค.ศ 1930 นักเศรษฐศาสตร์สนใจวิเคราะห์ปัญหาเศรษฐกิจในเชิงจุลภาคเป็นหลัก โดยเฉพาะทฤษฎีการกำหนดราคาและปริมาณสินค้าเฉพาะอย่าง ( individual products )

aletta
Download Presentation

ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติ

  2. Classical TheoryandThe Keynesian Revolution

  3. Classical Theory • Classical Economist : Adam Smith • ก่อน ค.ศ 1930 นักเศรษฐศาสตร์สนใจวิเคราะห์ปัญหาเศรษฐกิจในเชิงจุลภาคเป็นหลัก โดยเฉพาะทฤษฎีการกำหนดราคาและปริมาณสินค้าเฉพาะอย่าง (individual products) • เพราะเชื่อว่า “เศรษฐกิจอาจมีการว่างงานได้ชั่วคราว แต่ในที่สุดเศรษฐกิจก็จะกลับสู่ภาวะมีการจ้างงานเต็มที่ได้เองในที่สุด” • Say’s Law“Supply creates its own Demand”

  4. Keynesian School of Economics • Keynesian Economics: John Maynard Keynes -ในช่วงปี ค.ศ. 1930 เกิดปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำครั้งรุนแรงที่สุด - เศรษฐกิจไม่สามารถปรับตัวได้เองตามที่เชื่อกันในสมัยนั้น - เคนส์ได้เขียนตำรา ชื่อ “The General Theory of Employment, Interest and Money” และได้เสนอแนวคิดว่า “อัตราการว่างงานและผลผลิตของชาติอาจมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นลงได้เสมอตามภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งนี้ก็เพราะระดับรายได้ประชาชาติกับระดับการจ้างงานนั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด”

  5. จึงได้เสนอทฤษฎีเศรษฐศสาตร์ใหม่ สรุปได้ว่า “ภาวการณ์ว่างงานเป็นปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจที่อาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา และไม่อาจปรับตัวเข้าหาดุลยภาพได้ด้วยตัวเอง” • J.M. Keynes“Demand creates its own Supply” • เคนส์จึงได้สร้าง“ทฤษฎีการกำหนดรายได้ประชาชาติ”ขึ้นทฤษฎีนี้อธิบายได้ว่า“ความต้องการใช้จ่ายมวลรวม จะเป็นตัวกำหนดรายได้ประชาชาติ”

  6. Desired Aggregate Expenditure = C + I + G + (X – M) หรือ Aggregate Demand = C + I + G + (X – M) (DAE) (AD) ทั้งนี้ความต้องการใช้จ่ายมวลรวม ไม่จำเป็นจะต้องเท่ากับรายจ่ายที่เกิดขึ้นจริงในระบบเศรษฐกิจ AD / DAE < , > , = AS / NI

  7. องค์ประกอบของความต้องการใช้จ่ายมวลรวม (DAE) 1. รายจ่ายเพื่อการบริโภค (C) และการออม (S) 2. รายจ่ายเพื่อการลงทุน (I) 3. รายจ่ายของภาครัฐบาล (G) 4. การส่งออกสุทฺธิ (X-M)

  8. รายจ่ายเพื่อการบริโภคและการออม Consumption Expenditure [C]and Saving [S]

  9. รายได้ C รายได้ C S ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม • รายได้สุทธิส่วนบุคคลหรือรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง(Disposable Income) S

  10. ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออมปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม • ขนาดของสินทรัพย์สภาพคล่องสินทรัพย์สภาพคล่องคือสิ่งที่เราถือว่าเป็นเงิน(Money)ได้แก่เงินสดเงินฝากกระแสรายวันเงินฝากประจำพันธบัตรทองคำหุ้นและที่ดินซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้สามารถเปลี่ยนเป็นเงินได้รวดเร็วและไม่เสียค่าใช้จ่ายมากนัก

  11. นาย ก. มีรายได้ 10,000 บาท/เดือน มีเงินฝากประจำ 1,000,000 บาท นาย ข. มีรายได้ 10,000 บาท/เดือน มีที่ดินมูลค่า 1,000,000 บาท > C ก C ข

  12. สินค้าคงทน C สินค้าคงทน ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม 3. สินค้าคงทนที่ผู้บริโภคมีอยู่ S S C

  13. รายได้ในอนาคต C รายได้ในอนาคต ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม • การคาดการณ์ของผู้บริโภค ได้แก่ รายได้ในอนาคต S S C

  14. ราคาในอนาคต C ราคาในอนาคต ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม 4. การคาดการณ์ของผู้บริโภค ได้แก่ ราคาสินค้าในอนาคต S S C

  15. เงินดาวน์ /ดอกเบี้ยเงินกู้ C เงินดาวน์ /ดอกเบี้ยเงินกู้ ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม • สินเชื่อเพื่อการบริโภคและอัตราดอกเบี้ย (เงินดาวน์และอัตราดอกเบี้ยเงินกู้) S C S

  16. ดอกเบี้ยเงินฝาก C ดอกเบี้ยเงินฝาก ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม 5. อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก S S C

  17. C ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม 6. ค่านิยมทางสังคม ค่านิยมฟุ่มเฟือย S ค่านิยมประหยัด S C

  18. C ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม 7. อัตราการเพิ่มของประชากรและโครงสร้างอายุของประชากร อัตราประชากร S อัตราประชากร S C

  19. C ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม 7. อัตราการเพิ่มของประชากรและโครงสร้างอายุของประชากร ประชากรในวัยทำงาน S ประชากรในวัยทำงาน S C

  20. ฟังก์ชั่นการบริโภค C = f(Yd, A1, A2, A3, …ฯลฯ ) เมื่อ Cคือรายจ่ายเพื่อการบริโภค Ydคือรายได้สุทธิหรือรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง(DI) A1, A2, A3,…ฯลฯคือปัจจัยอื่นๆ ฟังก์ชั่นการบริโภคของบุคคล

  21. ในระยะสั้น Consumption Functionคือ C = f (Yd) ฟังก์ชั่นการบริโภคในระยะสั้นของบุคคล Consumption Function จาก C = f(Yd, A1, A2, A3, … ฯลฯ)

  22. ระดับรายได้สุทธิส่วนบุคคลและระดับการใช้จ่ายบริโภคระดับรายได้สุทธิส่วนบุคคลและระดับการใช้จ่ายบริโภค

  23. สมการการบริโภคของบุคคลสมการการบริโภคของบุคคล C = a + b Yd โดยที่ a คือ การบริโภคเมื่อรายได้เป็นศูนย์ b คือ ค่าความชันของการบริโภค Yd คือ รายได้ที่ใช้จ่ายได้

  24. การบริโภค (C) C = a + b Yd a รายได้ (Yd) 0

  25. C Yd ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการบริโภค(Average Propensity to Consume : APC) • อัตราส่วนของค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคต่อรายได้ • ค่าที่แสดงว่ารายจ่ายในการบริโภคคิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของรายได้ APC =

  26. พฤติกรรมการใช้จ่ายของบุคคล มี 3 แบบ • บุคคลจะใช้จ่ายในการอุปโภคบริโภคเกินกว่า รายได้ที่ได้รับในงวดที่มีการใช้จ่ายนั้น • (C > Yd) • 2. บุคคลจะใช้จ่ายในการอุปโภคบริโภคเท่ากับ รายได้ที่ได้รับในงวดที่มีการใช้จ่ายนั้น • (C = Yd) • 3. บุคคลจะใช้จ่ายในการอุปโภคบริโภคน้อยกว่า รายได้ที่ได้รับในงวดที่มีการใช้จ่ายนั้น • (C < Yd)

  27. C = a + bYd C C B A C3 = 475 C2 = 400 a C1= 325 Yd 0 y1=300 Y1 Y2 Y3 y2 = 400 y3 = 500

  28. APC A C = 325 Y 300 = 1.08 C Yd ; APC1 APC B C = 400 Y 400 C = Yd ; APC = 1 = 1.00 APC c C  Yd ; APC  1 C = 475 Y 500 = 0.95

  29. C Yd ; APC1 C = Yd ; APC = 1 C  Yd ; APC  1 ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า เมื่อรายได้เพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ค่า APC จะมี ค่าลดลงเรื่อย ๆ ด้วย

  30. C Yd ความโน้มเอียงส่วนเพิ่มในการบริโภค(Marginal Propensity to Consume : MPC) • อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงรายจ่ายในการบริโภคต่อการเปลี่ยนแปลงของรายได้ C2 - C1 Yd2 - Yd1 MPC = =

  31. เมื่อ Ydเพิ่มขึ้น Cจะเพิ่มขึ้น แต่ Cจะเพิ่มขึ้นน้อยกว่าYdที่เพิ่มขึ้น MPC > 0 MPC < 1 จากทฤษฎีของ Keynes กล่าวไว้ว่า เพราะฉะนั้นจะได้ 0 < MPC < 1

  32. C = a + bYd C C B A C3 = 475 C2 = 400 a C1= 325 Yd 0 y1=300 Y1 Y2 Y3 y2 = 400 y3 = 500

  33. MPC (A - B) C = C2 – C1 = 400 - 325 Y Yd1 – Yd2 400 - 300 = 75 100 = 0.75 เพราะฉะนั้นจะได้ 0 < MPC < 1

  34. ฟังก์ชั่นการออม S = f(Yd, A1, A2, A3, … ฯลฯ ) เมื่อ Sคือ การออม Ydคือรายได้สุทธิหรือรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง(DI) A1, A2, A3,..ฯลฯ คือปัจจัยอื่นๆ ฟังก์ชั่นการออมของบุคคล

  35. ในระยะสั้น Saving Function คือ S = f (Yd) ฟังก์ชั่นการออมในระยะสั้นของบุคคล Saving Function จาก s = f(Yd, A1, A2, A3, … ฯลฯ)

  36. จาก Yd = C + S ฟังก์ชันการออม S = f (Yd) ดังนั้นเงินออม คือ รายได้สุทธิส่วนที่เหลือจากการใช้จ่าย ก็จะได้ S = Yd – C และจากสมการการบริโภค C = a + bYd แทนค่าสมการ S = Yd – a – bYd ดังนั้นจะได้สมการการออม คือ S = – a + (1-b) Yd

  37. สมการการออมของบุคคล S = -a+ (1-b) Yd โดยที่ -a คือ การออมเมื่อรายได้เป็นศูนย์ 1-b คือ ค่าความชันของการออม Yd คือ รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง (DI)

  38. การออม (S) S = -a+ (1-b)Yd saving 0 รายได้ (Yd) Dissaving -a

  39. S Yd ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการออม(Average Propensity to Save : APS) • อัตราส่วนของการออมต่อรายได้ • ค่าที่แสดงว่าการออมคิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของรายได้ APS =

  40. การออม (S) S = -a+ (1-b)Yd C s3 = 25 B A รายได้ (Yd) 0 Y1=300 Y2=400 Y3=500 s1 = -25 s2 = 0 -a

  41. APS A S = -25 Yd 300 = - 0.08 S 0 ; APS 0 หรือมีค่าติดลบ APS B S = 0 Yd 400 S = 0; APS = 0 หรือมีค่าเท่ากับ 0 = 0 APS c S  0 ; APS  0 หรือมีค่าเป็นบวก S = 25 Yd 500 = 0.05

  42. S 0 ; APS 0 หรือมีค่าติดลบ S = 0 ; APS = 0 S  0 ; APS  0หรือมีค่าเป็นบวก ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า เมื่อรายได้เพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ค่า APS จะมี ค่าเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ เช่นเดียวกัน

  43. S Yd ความโน้มเอียงในการออมหน่วยสุดท้าย(Marginal Propensity to Save : MPS) • อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงของการออมต่อการเปลี่ยนแปลงของรายได้ S2 - S1 Yd2 - Yd1 MPS = =

  44. เมื่อ Ydเพิ่มขึ้น Sจะเพิ่มขึ้น แต่ Sจะเพิ่มขึ้นน้อยกว่าYdที่เพิ่มขึ้น MPS > 0 MPS < 1 ตามหลักของ Keynes ที่กล่าวว่า เพราะฉะนั้นจะได้ 0 < MPS < 1

  45. การออม (S) S = -a+ (1-b)Yd C s3 = 25 B A รายได้ (Yd) 0 Y1=300 Y2=400 Y3=500 s1 = -25 s1 = 0 -a

  46. MPS (A – B) S = C2 – C1 = 0 – (-25) Yd Yd1 – Yd2 400 - 300 = 25 100 = 0.25 เพราะฉะนั้นจะได้ 0 < MPS < 1

  47. Yd = 500  APC = 0.95 , APS = 0.05 ณ รายได้ 500 บาท โดยเฉลี่ยแล้ว เงิน 1 บาท จะนำไปบริโภค 0.95 บาท และนำไปออม 0.05 บาท Yd = C + S ถ้า Yd = 1 Yd = C + S Yd Yd Yd 1 = + APS APC ความสัมพันธ์ระหว่าง APC และ APS

  48. MPC = 0.75 , MPS = 0.25 ถ้ามีรายได้เพิ่มขึ้น 1 บาท จะใช้จ่ายเพื่อการบริโภคเพิ่มขึ้น 0.75 บาท และนำไปออมเพิ่มขึ้น 0.25 บาท Yd = C + S Yd ดังนั้น = C + S Yd = C + S ถ้า Yd = 1 Yd Yd Yd 1 = MPC + MPS ความสัมพันธ์ระหว่าง MPC และ MPS

  49. C , S C = Yd C = a + bYd C <Yd ; APC <1 C =Yd ; APC =1 S = -a + (1-b)Yd a C >Yd ; APC >1 S > 0 ; APS > 0 45 S = 0 ; APS = 0 0 Yd S < 0 ; APS <0 -a

  50. การเปลี่ยนแปลงการบริโภค (C) และการออม (S) • การเปลี่ยนแปลงบนเส้นการบริโภคและเส้นการออม (move along the curve) • การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของเส้นการบริโภคและการออม หรือการเคลื่อนขึ้นหรือเคลื่อนลงของเส้นการบริโภคและการออมทั้งเส้น (change in or shift in consumption and saving function)

More Related