370 likes | 518 Views
ดร.สุกัญญา เจริญวัฒนะ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา บางแสนชลบุรี Tel/Fax; 038-390045. อาหารเพื่อการป้องกัน & ควบคุมโรคจากวิถีชีวิต. หัวข้อ. วิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค โรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้ อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่?. วิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค.
E N D
ดร.สุกัญญา เจริญวัฒนะ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา บางแสนชลบุรี Tel/Fax; 038-390045 อาหารเพื่อการป้องกัน&ควบคุมโรคจากวิถีชีวิต
หัวข้อ • วิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค • โรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้ • อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่?
วิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเกิดโรควิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค เคยตั้งคำถามกับชีวิตหรือไม่ว่า ทำสิ่งเหล่านี้เพื่ออะไร? • กินอะไรซ้ำๆ • ทำอะไรแบบเคยชิน • ได้ยินอะไรก็เชื่อ • เบื่อแล้วก็หยุดซะงั้น
ผลการวิจัยพบว่าถ้าอยู่ในกลุ่มเพื่อนหรือคนใกล้ชิดที่อ้วนมักเป็นปัจจัยทำให้อ้วนผลการวิจัยพบว่าถ้าอยู่ในกลุ่มเพื่อนหรือคนใกล้ชิดที่อ้วนมักเป็นปัจจัยทำให้อ้วน
โภชนาการเพื่อสุขภาพ:ภาวะโรคอ้วนโภชนาการเพื่อสุขภาพ:ภาวะโรคอ้วน อ้วนคืออะไร ? ความอ้วนคือ..... • การที่มีเนื้อเยื่อไขมัน สะสมมาก จากการเพิ่มขนาดของเซลใหญ่ขึ้น
อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่?อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่? สารอาหารที่ทำให้อ้วนมี 3 ชนิดคือ
โภชนาการเพื่อสุขภาพ:ภาวะโรคอ้วนโภชนาการเพื่อสุขภาพ:ภาวะโรคอ้วน Endermologie (MFB,1995)
โภชนาการเพื่อสุขภาพ:ภาวะโรคอ้วนโภชนาการเพื่อสุขภาพ:ภาวะโรคอ้วน เซลล์ของไขมันสามารถขยายขนาด
โภชนาการเพื่อสุขภาพ:ภาวะโรคอ้วนโภชนาการเพื่อสุขภาพ:ภาวะโรคอ้วน FAT CELL เซลล์ไขมันมีการเปลี่ยนแปลง 2 ชนิดคือ HYPERTROPHY การเพิ่มขนาดของเซลไขมัน 1 เซลล์มีขนาดใหญ่ขึ้น เกิดในช่วงอายุมากกว่า 13 ปี HYPERPLASIA การเพิ่มปริมาณเซลไขมัน จาก 1เป็น 2 ในช่วงอายุ 8-12 ปี
โภชนาการเพื่อสุขภาพ:ภาวะโรคอ้วนโภชนาการเพื่อสุขภาพ:ภาวะโรคอ้วน รูปร่างของคนแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ ลูกแพร์ แอปเปิ้ล Type of Morphology (MFB, 1999)
วิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเกิดโรควิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค ปัจจัยเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ • เพศ • อายุ • พันธุกรรม
วิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเกิดโรควิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค รู้จริงหรือเปล่ากับสิ่งเหล่านี้ • หลีกเลี่ยงอาหารไขมันสูง • เลิกบุหรี่ • ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ • ทำจิตใจให้ผ่องใส
วิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเกิดโรควิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค อาหารทำให้อ้วนและหลอดเลือดอุดตัน : SFA
วิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเกิดโรควิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค อาหารไขมันอิ่มตัวสูงทำให้อ้วนและหลอดเลือดอุดตัน
(สถาบันวิจัยโภชนาการมหิดล, 2545) ปริมาณวิตามินซีในผลไม้ 100 กรัม (ต่อ)
การทำงานของสารต้านอนุมูลอิสระเช่น วิตามิน A,C, E
การเปรียบเทียบผลไม้สดและแห้ง 100กรัม(สถาบันวิจัยโภชนาการมหิดล, 2545)
วิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเกิดโรควิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค เป้าหมายสำคัญทางคลินิกของ การปรับพฤติกรรม • วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้เกิดความเสี่ยง • เรียงลำดับขั้นการปฏิบัติแบบค่อยเป็นค่อยไป • ใช้สิ่งแวดล้อมสังคมและกายภาพเป็นตัวช่วย • มีเทรนเนอร์ให้ปรึกษาเมื่อมีปัญหา
โภชนาการเพื่อสุขภาพ:ภาวะโรคอ้วนโภชนาการเพื่อสุขภาพ:ภาวะโรคอ้วน BMI = BW (kg.) [HT(m.)]2 Figure Mortality and BMI ACSM (2001). ACSM's Resource Manual for Guidelines for Exercise Testing and Prescription, 4th ed., pg 7.
โรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้โรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้ โรคไม่ติดต่อคืออะไร คือโรคที่ไม่ได้เกิดจาก เชื้อโรคโดยตรง และส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรม การดำเนินชีวิตและพันธุกรรม
โรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้โรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้ โรคอ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง • ทำให้หลอดเลือดเสื่อมเร็วขึ้น • เกิดขึ้นกับหลอดเลือดทั่วร่างกาย แต่ที่จะมีปัญหามาก ก็คือหลอดเลือดที่ตา ไต สมอง และหัวใจ • เป็นต้นเหตุสำคัญของอัมพาต ไตวาย และโรคหัวใจขาดเลือด • การควบคุมระดับน้ำตาล ในเลือดและความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ จะช่วยชะลอการดำเนินโรคได้
อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่?อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่? เป้าหมายหลัก
อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่?อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่? ตารางแสดงอัตราส่วน ความเสี่ยงคลอเลสเตอรอล ตัวเลขที่คำนวณมีค่าต่ำกว่า 4.5 จะแสดงว่ามีความเสี่ยงต่ำในการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
อาหารทะเลที่มีคลอเลสเตอรอลสูงอาหารทะเลที่มีคลอเลสเตอรอลสูง ปริมาณ 100 กรัม (1 ขีด)(สถาบันวิจัยโภชนาการมหิดล, 2545)
โรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้โรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้ ความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจ • ผู้ที่ดื่มมากกว่า 3 หน่วยสุราทุกวันมีโอกาสความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงทำให้เกิดโรคหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมอง • ผู้ที่ดื่มครั้งละมากกว่า 8 หน่วยสุราต่อครั้งจะมีโอกาสเป็นโรคหัวใจมากกว่าคนปกติ 2 เท่า ผู้ดื่มสุราเป็นปริมาณมากและเรื้อรังจะมีโอกาสเป็นโรคหัวใจวาย
โรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้โรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้
โรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้โรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้ แอลกอฮอล์ (ต่อ) • แอลกอฮอล์ถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดแล้ว บางส่วนจะเข้าไปในปอดแล้วขับออกมาทางลมหายใจ • จึงตรวจวัดปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดโดยทางหายใจ • ดื่มเบียร์ 10 แก้ว หรือไวน์ 2 ขวด ต่อให้นอนหลับไปนานถึง 8 ชั่วโมง ก็ยังมีปริมาณแอลกอฮอล์ตกค้างอยู่ในกระแสเลือดมากเกินขีดที่กฎหมายอนุญาตให้ขับขี่ยวดยานได้ • ตับจะใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง ในการย่อยสลายแอลกอฮอล์ 10 กรัม
โรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้โรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้ โรคตับ • ไขมันจับที่ตับ Fatty liver พบได้บ่อย • ตับอักเสบ พบร้อยละ 10-35 ของผู้ดื่มสุรามาก • ตับจะใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง ในการย่อยสลายแอลกอฮอล์ 10 กรัม • ร้อยละ 10-20 จะเป็นตับแข็ง ผู้ที่ดื่มสุราและไม่ค่อยรับประทานอาหารจะมีโอกาสเป็นตับแข็งสูงและมะเร็งตับ
แอลกอฮอล์ (ต่อ) อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่? ดื่มเท่าไหร่ จึงพอดีสำนักงานอาหารแห่งชาติออสเตรเลียให้นิยาม "ขนาดดื่มมาตรฐาน" (standard alcoholic drink หรือเรียกย่อว่า sd) หมายถึงปริมาณเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์อยู่ 10กรัม 1 ดื่มมาตรฐานได้แก่ • เบียร์แอลกอฮอล์ต่ำ แก้วใหญ่ 425 ม.ล., • เบียร์ธรรมดา แก้วกลาง 285 ม.ล., • ไวน์ แก้วเล็ก 100 ม.ล., • เชอร์รี่ แก้วเล็ก 60 ม.ล., • เหล้า 1 เป๊ก 30 ม.ล.
อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่?อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่? ร่างกายของเราต้องการสารอาหารอะไร?
อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่?อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่? • อาหารคือสิ่งที่เรารับเข้าสู่ร่างกายมี 5 หมู่ได้แก่เนื้อสัตว์, ข้าว&แป้ง,ไขมัน,ผักและผลไม้ • สารอาหารคือสารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารได้แก่ โปรตีน, คาร์โบไฮเดรต, ไขมัน,วิตามินและเกลือแร่
ระยะเวลาและปริมาณการเปลี่ยนสารอาหารเป็นน้ำตาลระยะเวลาและปริมาณการเปลี่ยนสารอาหารเป็นน้ำตาล
อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่?อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่? สัดส่วนของอาหารที่ต้องรับประทาน 100% คาร์โบไฮเดรต(60%) ไขมัน(25 %) โปรตีน(15 %) ปริมาณสารอาหาร ที่มีอยู่ในร่างกาย 1. น้ำมีร้อยละ 60-65 2. โปรตีนร้อยละ 20 3. ไขมันร้อยละ 10 4. คาร์โบไฮเดรต มีน้อยกว่าร้อยละ 1 5. เกลือแร่ร้อยละ 4
น่องไก่ 1 ชิ้น 280 กิโลแคลอรี่ ขนมกรุบกรอบ 1 ถุง 170 กิโลแคลอรี่ วิ่งประมาณ 1 ชั่วโมง วิ่ง 20 นาที น้ำอัดลม 1 กระป๋อง 240 กิโลแคลอรี่ พิซซ่า 1 ชิ้น 219 กิโลแคลอรี่ ว่ายน้ำ ครึ่งชั่วโมง ว่ายน้ำ ครึ่งชั่วโมง