1 / 39

การปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

การปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข. ดร.สุรพล กาญจนะจิตรา รองปลัดกระทรวงมหาดไทย. ดร.สุรพล กาญจนะจิตรา ตำแหน่งหน้าที่ราชการ รองปลัดกระทรวงมหาดไทย (หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านพัฒนาชุมชนและส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น) กรรมการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

aletha
Download Presentation

การปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ดร.สุรพล กาญจนะจิตรา รองปลัดกระทรวงมหาดไทย

  2. ดร.สุรพล กาญจนะจิตรา • ตำแหน่งหน้าที่ราชการ • รองปลัดกระทรวงมหาดไทย (หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านพัฒนาชุมชนและส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น) • กรรมการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค • กรรมการการกีฬาแห่งประเทศไทย • -อนุกรรมการพัฒนาระบบราชการเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาระบบ การบริหารราชการในส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น • -อนุกรรมการข้าราชการพลเรือนวิสามัญเกี่ยวกับการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคล • การศึกษา • รัฐศาสตร์บัณฑิต ( เกียรตินิยม ) สาขาการปกครองจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • M.S. สาขาสังคมวิทยา ( Cornell University ) • - Ph.D. สาขาสังคมวิทยา ( Cornell University ) • - นปส. รุ่นที่ 20 วิทยาลัยการปกครอง • วปรอ. รุ่น 377 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • รางวัลและเกียรติคุณพิเศษ • - เงินทุนภูมิพล • - เหรียญรางวัลเรียนดีเยี่ยมจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • - ทุนรัฐบาลไปศึกษาระดับปริญญาโท เอก ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา • ตำแหน่งหน้าที่ราชการที่สำคัญ • - หัวหน้ากองส่งเสริมและเผยแพร่ กรมการพัฒนาชุมชน • - ผู้อำนวยการกองวิจัยและประเมินผล กรมการพัฒนาชุมชน • - รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน • - ผู้ช่วยปลัดกระทรวงมหาดไทย • - ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสงคราม • - ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร • - ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา • - หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย • - ที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ • ( นายอารีย์ วงศ์อารยะ ) • - ที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย • (พล.ต.ท.ธีรวุฒิ บุตรศรีภูมิ) • ตำแหน่งทางวิชาการ • - อุปนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา • - กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัยสยาม • - กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ • - อาจารย์พิเศษประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย • รามคำแหง มหาวิทยาลัยสยาม มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร- • ศรีอยุธยา มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา • การบริการสังคม • - ที่ปรึกษาโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา • กรรมการบริหารมูลนิธิสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ในพระราชู- • ปถัมถ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

  3. องค์ประกอบของรัฐ 1.ประชากร(Population) 2.ดินแดน(Territory) 3.รัฐบาล(Government) 4.อำนาจอธิปไตย(Sovereignty)

  4. รูปแบบของรัฐ 1.รัฐเดี่ยว (Unitary State) 2.สหพันธ์รัฐ (Federal State)

  5. หลักการจัดระเบียบบริหารราชการหลักการจัดระเบียบบริหารราชการ 1. หลักการรวมอำนาจการปกครอง (Centralization) 2. หลักการแบ่งอำนาจการปกครอง (Deconcentration) 3. หลักการกระจายอำนาจการปกครอง (Decentralization)

  6. การปกครองแบบประชาธิปไตยการปกครองแบบประชาธิปไตย 1.ระบบรัฐสภา(Parliamentary system) 2.ระบบประธานาธิบดี(Presidential system) 3.ระบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี (Semi Presidential System)

  7. หลักการรวมอำนาจการปกครองหลักการรวมอำนาจการปกครอง 1. กำลังทหารและตำรวจขึ้นตรงต่อส่วนกลาง 2. อำนาจการวินิจฉัยสั่งการอยู่ที่ส่วนกลาง 3. มีลำดับขั้นการบังคับบัญชาของเจ้าหน้าที่

  8. หลักการแบ่งอำนาจการปกครองหลักการแบ่งอำนาจการปกครอง 1. ส่วนกลางเป็นผู้ใช้อำนาจแต่แบ่งมอบอำนาจให้ภูมิภาค 2. มีเจ้าหน้าที่เป็นตัวแทนของส่วนกลางออกไปปฏิบัติหน้าที่ 3. ส่วนกลางแบ่งและมอบอำนาจให้ส่วนภูมิภาค

  9. หลักการกระจายอำนาจการปกครองหลักการกระจายอำนาจการปกครอง 1. มีการจัดตั้งองค์กรขึ้น 2. มีการเลือกตั้งสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น 3. มีอำนาจอิสระในการปกครองตนเอง 4. มีงบประมาณและรายได้ของตนเอง 5. มีบุคลากรของตนเอง

  10. การบริหารราชการแผ่นดินของไทยการบริหารราชการแผ่นดินของไทย 1. ราชการบริหารส่วนกลาง ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม 2. ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ได้แก่ จังหวัด และอำเภอ 3. ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น ได้แก่ อบจ. เทศบาล อบต. กทม. เมืองพัทยา

  11. การปกครองสมัยสุโขทัยอยุธยาและสมัยรัตนโกสินทร์การปกครองสมัยสุโขทัยอยุธยาและสมัยรัตนโกสินทร์ สมัยสุโขทัย:เป็นการปกครองแบบครอบครัวเพราะพลเมืองน้อย สมัยอยุธยา: -แบ่งการปกครองออกเป็นส่วนกลางและส่วนหัวเมือง -แบ่งอำนาจหน้าที่ในการปกครองออกเป็น 2 ส่วน -ฝ่ายทหารมีสมุหพระกลาโหมเป็นหัวหน้า -ฝ่ายพลเรือนมีสมุหนายกเป็นหัวหน้า

  12. การปกครองส่วนกลาง (อยุธยา) หน่วยงานปกครองส่วนกลางที่สำคัญที่สุดคือจัตุสดมภ์ 1. กรมเมือง 2. กรมนา 3. กรมคลัง 4. กรมวัง

  13. การปกครองส่วนภูมิภาค ถือตามแบบอินเดียสุโขทัยต้องมีเมืองหน้าด่าน 4 ทิศ เหนือ - เมืองศรีสัชนาลัย ใต้ - เมืองกำแพงเพชร ตะวันออก - เมืองสองแคว ตะวันตก - เมืองสระหลวง(พิจิตร) เหนือ - เมืองลพบุรี ใต้ - พระประแดง ตะวันออก - นครนายก ตะวันตก - สุพรรณบุรี อยุธยา

  14. พระราชกำหนดออกในรัชการพระเจ้าท้ายสระ (พ.ศ. 2270) กำหนดให้เจ้าเมืองและข้าราชการหัวเมือง ปฏิบัติ 15 ประการ

  15. 1. ถ้าไม่ส่งรายงานเข้ากรุงตามกำหนดหรือไม่เดินทางเข้ากรุงต้องรับโทษ 2. เจ้าเมืองต้องไม่ฉุดลูกสาวราษฎรข้าราชการทั่วไปสั่งราษฎรตัดไม้ให้เจ้าเมือง ได้แต่ถ้าให้คัดเพื่อประโยชน์ส่วนตัวเป็นผิด 3. เจ้าเมืองต้องรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง 4. เจ้าเมืองออกมาว่าความตัดสินต้องมียกกระบัตรทั้งคู่ 5. ถ้ามีท้องตราไปจากเมืองหลวงเจ้าเมืองจะต้องเปิดต่อหน้ายกกระบัตร 6. เจ้าเมืองต้องตรวจค่ายคูเมือง กำแพง และเขต 7. เจ้าเมืองและกรมการเมืองมีหน้าที่ทำบัญชีคน 8. กรมการจะต้องดึงบัญชีช้างในเขตของตนว่ามีกี่โขลงเป็นช้างพลายหรือ ช้างพังและให้เข้าเมืองรายงายงานเข้ากรุง

  16. 9. เมื่อมีคนแปลกหน้าต้องรู้จักและเหตุที่มา 10. ข้าราชการในตำแหน่งใดว่างประชุมกันตั้งขึ้นแทนได้แค่ทางกรุงต้อง เห็นชอบและรักษาการจนกว่าทางกรุงจะตั้งขึ้นแทน 11. คนประจำป้อมค่ายให้กรมการคอยดูแลให้มีความสุขห้ามนำมาใช้ในกิจการใด 12. เจ้าเมืองต้องดูแลข้าราชการให้ทำหน้าที่ด้วยดี 13. หน้าที่ยกกระบัตรถ้าข้าราชการเบียดบังราษฎรให้ยกกระบัตรสอบสวนถ้าจริง ให้คืนทรัพย์ราษฎรพร้อมส่งคนทำผิดเข้ากรุงถ้าคนทำผิดเป็นเจ้าเมืองยัง สอบสวนไม่ได้ต้องส่งเข้ากรุงถ้ายกกระบัตรผิดเองให้เจ้าเมืองฟ้อง 14. ไพร่หลวง ไพร่สม เจ้าเมืองกรมการต้องทำบัญชีไว้ให้หมด 15. ข้าราชการทุกคนต้องทำหน้าที่รักษาความผาสุกของราษฎร

  17. การปฏิรูปการปกครองแผ่นดินในสมัย ร.5 1.การปกครองส่วนกลางจัดตั้ง 12 กระทรวง 2.การปกครองส่วนภูมิภาคแบ่งเป็น มณฑลเทศาภิบาล เมือง อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน 3.การปกครองท้องถิ่นจัดตั้งสุขาภิบาลท่าฉลอมเป็นแห่งแรกเมื่อ พ.ศ. 2448

  18. การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นการเปลี่ยนแปลงมาสู่ระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ

  19. รัฐธรรมนูญ • เป็นกฎหมายสูงสุด • เป็นกติกาในการปกครองประเทศ • ทุกฝ่ายจะต้องปฏิบัติตาม

  20. สาระสำคัญของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 1. ความเป็นราชอาณาจักร (รัฐเดี่ยว) 2. มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย 3. อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 4. ใช้ระบบรัฐสภา

  21. ราชอาณาจักร(Kingdom) สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงให้ความหมายว่าการกระทำใดๆอันเกี่ยวเนื่องกับประเทศชาติและมหาชนต้องมีความยำเกรงและนึกถึงพระบุญญาบารมีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นอันดับแรกเพราะพระองค์ท่านทรงเป็นปิยมหาราชที่เป็นทั้งความรักความหวงแหนและเกียรติของประเทศชาติในหลวงทรงเป็นดวงใจของคนไทยทั้งแผ่นดิน

  22. การปกครองระบอบประชาธิปไตยการปกครองระบอบประชาธิปไตย • ยึดประชาชนมีส่วนร่วม • มีการเลือกตั้งที่บริสุทธิ์ • คณะผู้บริหารมาจากประชาชนผ่านการเลือกตั้ง

  23. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่ง อันเดียวจะแบ่งแยกมิได้ (ม.1)

  24. ประเทศไทยมีการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข (ม.2)

  25. อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ (ม.3)

  26. องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอัน เป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้ • ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใดๆมิได้ (ม.8)

  27. พระมหากษัตริย์ทรงดำรงตำแหน่งพระมหากษัตริย์ทรงดำรงตำแหน่ง จอมทัพไทย (ม.10)

  28. ใช้ระบบรัฐสภา (Parliamentary System) • มีสภาที่มาจากการเลือกตั้งโดยประชาชน • ฝ่ายบริหารมาจากสภา • สภามีหน้าที่ออกกฎหมาย • สภามีหน้าที่ตรวจสอบการทำงานของฝ่ายบริหาร

  29. โครงสร้างการปกครอง - การบริหาร การปกครอง อำนาจอธิปไตย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร อำนาจตุลาการ การบริหาร ราชการบริหารส่วนกลาง กระทรวง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น อบจ. กรม จังหวัด เทศบาล อำเภอ อบต. เมืองพัทยา/กทม.

  30. วิวัฒนาการทางการเมืองการปกครองของไทยวิวัฒนาการทางการเมืองการปกครองของไทย • ระบบราชาธิปไตย ตั้งแต่ยุคสุโขทัยอยุธยา และรัตนโกสินทร์ มีพระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ และเสนาอำมาตย์เป็นหลัก และฐานค้ำและขับเคลื่อน

  31. วิวัฒนาการทางการเมืองการปกครองของไทย (ต่อ) • วันที่ 24 มิถุนายน 2475 มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ก่อการโดยบรรดาเสนาอำมาตย์ 99 คน ซึ่งเรียกตัวเองว่าคณะราษฎร ครอบงำการเมืองการปกครองของไทย จนถึง ปี 2500 ก็หมดอำนาจ เมื่อจอมพล ป.พิบูลย์สงคราม ถูกคณะรัฐประหารนำโดย จอมพล ส.ธนรัตน์ โค่นล้ม เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2500

  32. วิวัฒนาการทางการเมืองการปกครองของไทย (ต่อ) • จอมพล ส.ธนรัตน์ ถึงแก่อนิจกรรมในปี 2500 จอมพลถนอม และจอมพลประภาส ครองอำนาจต่อมาจนถึง 16 ตุลาคม 2516 จึงถูกโค่นล้ม โดยขบวนนิสิต นักศึกษา และชนชั้นกลาง

  33. วิวัฒนาการทางการเมืองการปกครองของไทย (ต่อ) • พ.ศ. 2516 -2519 การสถาปนาระบอบประชาธิปไตย ขบวนการนิสิต นักศึกษา ชนชั้นกลาง เป็นพลังขับเคลื่อน ดำรงอยู่ได้เพียง 3 ปี ก็ถูกล้มในวันที่ 6 ตุลาคม 2519

  34. วิวัฒนาการทางการเมืองการปกครองของไทย (ต่อ) • พ.ศ. 2520 – 2532 เป็นยุคของ ระบอบประชาธิปไตยครึ่งใบ • การขึ้นสู่อำนาจของคณะนายทหาร ซึ่งเรียกตัวเองว่า คณะปฏิวัติ • ครองอำนาจโดยยอมให้มีพรรคการเมืองร่วมใช้อำนาจการเมืองด้วย

  35. วิวัฒนาการทางการเมืองการปกครองของไทย (ต่อ) • พ.ศ. 2532 -2534 การสถาปนาระบอบประชาธิปไตยเต็มใบ • มีพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นนายกรัฐมนตรี • ธนาธิปไตย เริ่มเฟื่องฟู

  36. วิวัฒนาการทางการเมืองการปกครองของไทย (ต่อ) • 23 กุมภาพันธ์ 2534 การขึ้นสู่อำนาจของนายทหาร ซึ่งเรียกตัวเองว่า รสช. • พฤษภาคม 2535 ล้มลง โดยการลุกฮือของประชาชน

  37. วิวัฒนาการทางการเมืองการปกครองของไทย (ต่อ) • พ.ศ. 2535 – 2539 การสถาปนาระบอบประชาธิปไตยภายใต้รัฐบาลผสมที่อ่อนแอ

  38. วิวัฒนาการทางการเมืองการปกครองของไทย (ต่อ) • การปฏิรูปการเมืองโดยรัฐธรรมนูญ ปี 2540 ขยายสิทธิเสรีภาพของประชาชนและสถาปนาการปกครอง โดยพรรคการเมืองพรรคเดียว

  39. วิวัฒนาการทางการเมืองการปกครองของไทย (ต่อ) • พรรคฝ่ายค้านโจมตีการปกครองช่วงนี้ว่าเป็น ระบอบเผด็จการรัฐสภา • มีแนวร่วมประชาชน เพื่อประชาธิปไตยร่วมคัดค้าน พ.ต.ท.ทักษิณ จนนำไปสู่การรัฐประหารอีกครั้ง เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 ล้มรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน • มีการจัดตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ประกาศใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2550 เป็นฉบับที่ 18 ของไทย ทำให้ประเทศไทย เป็นประเทศที่ใช้รัฐธรรมนูญเปลืองที่สุดในโลก

More Related