1 / 14

นายสหัส ตรีทิพยบุตร รองกรรมการผู้จัดการ บมจ. ธนาคารกรุงไทย

นายสหัส ตรีทิพยบุตร รองกรรมการผู้จัดการ บมจ. ธนาคารกรุงไทย. พระราชบัญญัติ สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.). พระราชบัญญัติ สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 11 สิงหาคม 2551. ผู้ฝากเงิน - คุ้มครองเงินฝากประชาชน

alena
Download Presentation

นายสหัส ตรีทิพยบุตร รองกรรมการผู้จัดการ บมจ. ธนาคารกรุงไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นายสหัส ตรีทิพยบุตร รองกรรมการผู้จัดการ บมจ. ธนาคารกรุงไทย พระราชบัญญัติ สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)

  2. พระราชบัญญัติ สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 11 สิงหาคม 2551 ผู้ฝากเงิน- คุ้มครองเงินฝากประชาชน สถาบันการเงิน- เสริมสร้างความมั่นคงและเสถียรภาพ - ชำระบัญชีสถาบันการเงินที่ถูกเพิกถอน

  3. พรบ.นี้ในต่างประเทศ และผลกระทบ เริ่มในสหรัฐ 75 ปีแล้ว ปัจจุบันมี 99 ประเทศ อีก 20 ประเทศที่กำลังศึกษา

  4. คุ้มครองเงินฝากประชาชนคุ้มครองเงินฝากประชาชน จำนวนเงินที่คุ้มครอง :คุ้มครองต่อรายต่อสถาบัน

  5. บทวิเคราะห์ • กระตุ้นให้ประชาชนผู้ที่มีเงินฝาก • เลือกฝากเงินกับธนาคาร • ที่มีผลประกอบการ และราคาหุ้นดี • เลือกลงทุนกับสถาบันการเงิน • ที่มีผลประกอบการ และบริหารการเงินที่ดี • เลือกลงทุนกับผลิตภัณฑ์ทางการเงิน • ที่ให้ผลตอบแทนดีและเหมาะสมดี

  6. บทวิเคราะห์ • สถาบันทางการเงินทุกขนาดทุกประเภท (ธนาคาร • และบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน) • ต้องออกผลิตภัณฑ์ทางการเงินเพื่อรักษาลูกค้าเดิม • และดึงดูดลูกค้าใหม่ • สถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ ซึ่งรัฐบาลถือหุ้น • 100% ไม่ได้อยู่ภายใต้ พรบ. ฉบับนี้

  7. ตัวแปรในการพิจารณาเพื่อการออมและการลงทุนตัวแปรในการพิจารณาเพื่อการออมและการลงทุน • สถาบันการเงิน • ที่มั่นคง • ผลประกอบการดี • ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน • หลากหลาย • การให้บริการลูกค้าดี • ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน • อัตราผลตอบแทน (ดอกเบี้ยรับ) • ภาษีหัก ณ ที่จ่าย • การลดหย่อนภาษี • อัตราความเสี่ยง

  8. ชนิดของผลิตภัณฑ์ และสถาบันการเงิน

  9. ตัวอย่างการวิเคราะห์การลงทุนในธนาคารตัวอย่างการวิเคราะห์การลงทุนในธนาคาร

  10. พรบ.นี้ในต่างประเทศและผล (สรุป)

  11. แนวทางการลงทุนของผู้ฝากเงิน (สรุป) ปีที่ 1 ศึกษาข้อมูลการลงทุน ปีที่ 2 ศึกษาข้อมูลการลงทุน ครึ่งปีหลังกระจายเงินฝาก พันธบัตรและกองทุนรวม ปีที่ 3 ศึกษาเปรียบเทียบลงทุน พันธบัตร กองทุนรวม ประกันชีวิต หุ้นตลาดหลักทรัพย์ หรือกระจายเงินฝาก

  12. แนวทางการลงทุนของผู้ฝากเงิน (สรุป) ปีที่ 4 ปรับแผนการลงทุนทุก 6 เดือน พันธบัตร กองทุนรวม ประกันชีวิต หุ้นตลาดหลักทรัพย์ หรือกระจายเงินฝาก ปีที่ 5 ปรับแผนการลงทุนทุก 6 เดือน พันธบัตร กองทุนรวม ประกันชีวิต หุ้นตลาดหลักทรัพย์ หรือกระจายเงินฝาก หรืออสังหาริมทรัพย์ และทองคำ

  13. WEALTH MANAGEMENT

  14. Q & A

More Related