1 / 22

การกระตุ้นไฟฟ้าเพื่อเร่ง กระบวนการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ

การกระตุ้นไฟฟ้าเพื่อเร่ง กระบวนการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ. รศ.สมชาย รัตนทองคำ. ทบทวนกระบวนการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ. แ บ่งออกเป็น 4/3 ระย ะ. ระยะที่มีการอักเสบ (inflammation phase) ระยะที่มีการขจัดสิ่งแปลกปลอก ระยะที่มีการงอกขยาย (proliferative phase) ระยะที่มีการปรับตัว (maturation phase).

alec
Download Presentation

การกระตุ้นไฟฟ้าเพื่อเร่ง กระบวนการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การกระตุ้นไฟฟ้าเพื่อเร่งกระบวนการซ่อมแซมเนื้อเยื่อการกระตุ้นไฟฟ้าเพื่อเร่งกระบวนการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ รศ.สมชาย รัตนทองคำ

  2. ทบทวนกระบวนการซ่อมแซมเนื้อเยื่อทบทวนกระบวนการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ แบ่งออกเป็น 4/3ระยะ • ระยะที่มีการอักเสบ(inflammation phase) • ระยะที่มีการขจัดสิ่งแปลกปลอก • ระยะที่มีการงอกขยาย(proliferative phase) • ระยะที่มีการปรับตัว(maturation phase)

  3. ทบทวนกระบวนการซ่อมแซมเนื้อเยื่อทบทวนกระบวนการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ ระยะที่มีการอักเสบ • หลอดเลือดขยายตัว, เลือดคั่งมากขึ้น • ปวด บวม แดง ร้อน • มักสูญเสียการทำงานของอวัยวะส่วนนั้น • 24-48 ชั่วโมง หลังบาดเจ็บ

  4. ทบทวนกระบวนการซ่อมแซมเนื้อเยื่อทบทวนกระบวนการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ ระยะที่มีการขจัดสิ่งแปลกปลอม • เม็ดเลือดขาวมีการเพิ่มจำนวน (chemotactic) • นิวโทรฟิล เพิ่มจำนวน (bacteria) • มีการย่อยและทำลายสิ่งแปลกปลอม • เริ่มมีการเพิ่มไฟโบรบลาสท์เพื่อสร้างคอลลาเจน • 24-48 ชั่วโมง - 5 วัน หลังบาดเจ็บ

  5. ทบทวนกระบวนการซ่อมแซมเนื้อเยื่อทบทวนกระบวนการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ ระยะที่มีการงอกขยาย • เกิดการสร้างเนื้อเยื่อใหม่ (granulation tiss.) • เพิ่มจำนวนเส้นเลือดฝอย และใยคอลลาเจน • เนื้อเยื่อใหม่ที่เปราะบาง (ขึ้นกับการอักเสบ) • 1-4 สัปดาห์ หลังบาดเจ็บ

  6. ทบทวนกระบวนการซ่อมแซมเนื้อเยื่อทบทวนกระบวนการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ ระยะที่มีการปรับตัว • ลดจำนวนเส้นเลือดฝอย และใยคอลลาเจน • เนื้อเยื่อใหม่แข็งแรงและโตมากขึ้น,สีซีดลง • ระยะเวลาค่อนข้างนาน จนกระทั่งแผลเรียบ

  7. an incision at surgery of a leg. This incision is only 10 minutes old. Note the clot formation in the wound as the first phase of healing occurs. http://woundhealer.com/PicGuidHlg.htm

  8. Later on in the first or inflammatory stage of healing, discoloration of the borders of the wound is noted. Note also the slight swelling at the wound's edge. This is a wound recently debrided (five days prior). The yellow area on the right is exudate and breakdown over a tendon http://woundhealer.com/PicGuidHlg.htm

  9. This is a debrided leg wound closed primarily by sutures. This was done after significant tissue loss from necrotizing fasciitis and a significant decline in function. The goal of closure was to restore function. This is three days after closure. Note the edema , swelling, between sutures and somewhat separating the wound edges at top. Patient began to use the leg and returned to full function in a few weeks http://woundhealer.com/PicGuidHlg.htm

  10. This is a pressure wound healing by secondary intention. Note the red granulation tissue in the center surrounded by epithelialized scar http://woundhealer.com/PicGuidHlg.htm

  11. This is a burn healing by secondary intention. Most of the tissue area is in the remodeling phase. Note the epithelialized scar and the areas of flattening between the raised areas of scar http://woundhealer.com/PicGuidHlg.htm

  12. This is an area of leg wound healing both by secondary intention and skin graft. The area around the opening - over a tendon - is a healed skin graft. Note the depression due to contraction around the skin graft. The area over the tendon does not heal due to constant motion, it later healed with grafting and splinting at the same time http://woundhealer.com/PicGuidHlg.htm

  13. This is a wound in the second stage of healing (proliferative stage). Note the red granulation tissue overlying the muscle. Note also that the edges appear to be squeezing in on the tissue (early contraction). This is a fasciotomy wound in the leg http://woundhealer.com/PicGuidHlg.htm

  14. การกระตุ้นไฟฟ้าเพื่อเร่งการซ่อมแซมเนื้อเยื่อการกระตุ้นไฟฟ้าเพื่อเร่งการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ • ประวัติ • แนวคิด ทฤษฎี และความเชื่อ • เทคนิคการกระตุ้น • การประเมินผล

  15. ประวัติความเป็นมา • 1668-1925รักษาแผลโรคฝีดาษ, ประจุไฟฟ้าจากแผ่นทอง • 1960รักษาแผลกดทับ, ประจุไฟฟ้าจากแผ่นทอง • 1967-แผลเรื้อรัง,เครื่องกระตุ้นไฟฟ้า (CMDC)

  16. แนวคิดทฤษฎี, ความเชื่อ • ไฟฟ้าทำลายเชื้อจุลินทรีย์ • เปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้าที่เอื้อต่อการซ่อมแซม • ไฟฟ้าเร่งการซ่อมแซมเนื้อเยื่อโดยตรง

  17. แนวคิดทฤษฎี, ความเชื่อ ทำลายเชื้อจุลินทรีย์ • ใช้ขั้วลบ • ลดอัตราการเจริญเติบโต • ทำลาย homeostasis&ลด cellular activity

  18. แนวคิดทฤษฎี, ความเชื่อ เปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้มเซลล์ • หลังบาดเจ็บเกิด injury potential • injury potential ทำให้เกิด healing process • 48 ชั่วโมงแรกcell membศักย์เป็น บวก • 8-9 วันต่อมาก cell membศักย์เป็น ลบ

  19. แนวคิดทฤษฎี, ความเชื่อ เร่งการซ่อมแซมเนื้อเยื่อโดยตรง • เกิดการรวมกลุ่มของเซลล์ที่ ขั้วบวก • ขั้วลบ ไม่เกิดผลดังกล่าว

  20. เทคนิคการกระตุ้น • Galvanic, HVGC, IDC • ประมาณกระแสน้อยมาก 0.2-1 mA • ขั้วลบทำลายแบคทีเรีย, ขั้วบวกกระตุ้นเซลล์ • sterile technique • ร่วมกับการเทคนิคอื่น: notophoresis, whirlpool, exs etc. • ประเมินแผลก่อนและหลังการรักษา

  21. การประเมินแผล • วัดขนาดกว้าง ยาว ลึก ของแผล • สีผิวของแผล • cell culture • ถ่ายรูปเพื่อประเมินแผล

More Related