1 / 57

กำเนิดและวิวัฒนาการของธรรมชาติ

กำเนิดและวิวัฒนาการของธรรมชาติ. ผุสตี ปริยานนท์ ภาควิชาชีววิทยา ห้อง 212 ตึก คลุ้ม วัชโรบล. * กำเนิดจักรวาล * กำเนิด สุริยจักรวาล และ โลก * กำเนิด สิ่ง มีชีวิต * วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต * หลักฐานสนับสนุนวิวัฒนาการ * วิวัฒนาการของมนุษย์. กำเนิดจักรวาล สุริยจักรวาล

Download Presentation

กำเนิดและวิวัฒนาการของธรรมชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กำเนิดและวิวัฒนาการของธรรมชาติกำเนิดและวิวัฒนาการของธรรมชาติ ผุสตี ปริยานนท์ ภาควิชาชีววิทยา ห้อง 212 ตึก คลุ้ม วัชโรบล

  2. * กำเนิดจักรวาล • * กำเนิด สุริยจักรวาล และ โลก • * กำเนิดสิ่งมีชีวิต • * วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต • * หลักฐานสนับสนุนวิวัฒนาการ • * วิวัฒนาการของมนุษย์

  3. กำเนิดจักรวาล สุริยจักรวาล โลก

  4. สมมุติฐาน หรือ แนวคิดบางประการ • ได้มาจากการศึกษา • ทั้งทางตรงและทางอ้อม

  5. ได้แก่ • การเก็บข้อมูลจากพื้นผิวดวงจันทร์ • การรับรังสีหรือคลื่นต่างๆ • จากดวงดาวที่อยู่ไกล แล้วนำมาแปรความหมาย • รวมทั้ง โครงการสำรวจอวกาศ • ที่ทำให้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับจักรวาลได้มากที่สุด

  6. กำเนิดจักรวาล

  7. Friedman นักคณิตศาสตร์ชาวรัสเซีย ให้แนวคิดว่า มีความเป็นไปได้ ที่จักรวาลมีการขยายตัวออกไป

  8. ขณะเดียวกัน มีผู้โต้แย้งทฤษฎีดังกล่าว และ มีผู้พยายามศึกษาค้นคว้าในเรื่องนี้

  9. ทฤษฎี Big Bang (Big Bang Theory) จักรวาลเริ่มต้นจากมวลสารต่าง ๆ ในปริมาณมากมายที่อัดกันแน่น มีความร้อน และความกดดันสูงมาก

  10. จากสภาพเช่นนี้ ทำให้อะตอมของมวลสาร อยู่ไม่ได้ จึงเกิดการระเบิด อย่างรุนแรง

  11. จากสภาพเช่นนี้ ทำให้อะตอมของมวลสาร อยู่ไม่ได้ จึงเกิดการระเบิด อย่างรุนแรง ทฤษฎี Big Bang

  12. มวลสารที่เกิดจากการระเบิด บางส่วนรวมตัวกัน เป็นกาแล็กซี่และดวงดาวต่างๆ และ มีการ เคลื่อนตัวออกไปเรื่อย ๆ

  13. จากสมมุติฐานนี้ จึงมีผู้กล่าวว่า จักรวาล กำลังขยายตัวออกไป แนวคิดดังกล่าว ปัจจุบัน ได้รับการยอมรับว่า มีความเป็นไปได้ ในการอธิบาย การเกิดของจักรวาล

  14. กำเนิด สุริยะจักรวาล

  15. ดวงอาทิตย์ และ ดาวต่างๆ • ในสุริยะจักรวาล • มาจากมวลสารเดียวกัน • คือ • กลุ่มฝุ่นก๊าซ ที่หมุนวน

  16. กลุ่มฝุ่น ที่หมุนวน เกิดขึ้น เมื่อประมาณ 5 พันล้านปีมาแล้ว

  17. ข้อสันนิษฐาน กลุ่มฝุ่น น่าจะประกอบด้วย ไฮโดรเจน และ ฮีเลียม เป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากการศึกษาปัจจุบัน ไฮโดรเจน และ ฮีเลียม เป็นธาตุที่พบมากที่สุดในจักรวาล

  18. จากการระเบิด ของดาวข้างเคียง ทำให้การหมุนวนของกลุ่มฝุ่นดังกล่าว หมุนเร็วขึ้น ตามด้วย มวลสารที่มีการอัดแน่นเข้า แล้วยุบตัวเข้าหากัน ด้วยแรงโน้มถ่วง ของตัวมวลสารเอง

  19. ดวงอาทิตย์ เกิดจากแกนกลางของกลุ่มฝุ่น ที่ถูกอัดแน่น จนเกิดความร้อนสูง ทำให้เกิด ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ที่ให้พลังงานรุนแรง ดวงอาทิตย์

  20. ดาวเคราะห์ต่างๆ เกิดจากกลุ่มฝุ่นที่อยู่รอบนอก รวมตัวกันเป็นดวงดาว หมุนรอบดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์ รวมทั้ง โลกด้วย ดาวเคราะห์

  21. นักวิทยาศาสตร์ พบว่า ดาวบางดวงกำลังสูญเสียพลังงาน อันเกิดจากกัมมันตรังสีอย่างต่อเนื่อง มวลก็ลดน้อยลง

  22. ดวงอาทิตย์ เป็นดาวที่เกิด และสูญเสียพลังงานไปแล้ว จัดอยู่ในพวกที่มีอายุปานกลาง ที่อยู่ครึ่งทางระหว่างการเกิด และการดับ

  23. Supernova ขณะเดียวกัน ดาวบางดวง ในจักรวาล มีการระเบิด และ มีดาวเกิดใหม่ได้อีก

  24. ดาวเคราะห์ต่างๆ ในระบบสุริยจักรวาล มีองค์ประกอบแตกต่างกัน ขึ้นกับ ระยะห่างจากดวงอาทิตย์

  25. ดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้หรือไกลเกินไปดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้หรือไกลเกินไป จากดวงอาทิตย์ มีอุณหภูมิและสภาวะที่ไม่เหมาะสม กับการ ดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิต ที่ปรากฎอยู่บนโลก

  26. ในขณะที่โลก มีระยะห่างจากดวงอาทิตย์เหมาะสม ที่ทำให้น้ำอยู่ในรูปของเหลว ไอ และ ของแข็ง รวมทั้งสภาวะของบรรยากาศ ที่สิ่งมีชีวิตดำรงอยู่ได้

  27. กำเนิดโลก กำเนิดโลก

  28. โลกเกิดเมื่อ ประมาณ 4,600 ล้านปี

  29. หลักฐานสำคัญที่แสดงให้เห็นว่าหลักฐานสำคัญที่แสดงให้เห็นว่า โลกมีอายุ 4,600 ล้านปี ได้แก่ หินที่นำมาจากดวงจันทร์ มีอายุประมาณ 4,600 ล้านปี อายุใกล้เคียงกับหินที่เก่าที่สุดของโลกและ เศษอุกาบาตที่พบบนโลก

  30. วิวัฒนาการ • และ • การเปลี่ยนแปลงของโลก

  31. โลกตอนเริ่มแรก • มีสภาวะไม่เหมือนปัจจุบัน • ไม่มีมหาสมุทรและบรรยากาศ • พื้นผิวมีลักษณะเป็นหลุมบ่อ • เหมือนปากหลุมอุกาบาต • บนพื้นผิวดวงจันทร์

  32. นักธรณีวิทยามีหลักฐาน แสดงให้เห็นว่า โลก ระยะแรก ประกอบด้วย หินและน้ำแข็ง ไม่มีทะเล และ บรรยากาศ

  33. ใจกลางโลก ประกอบด้วย Radioactive elements มีความร้อนสูง จนเกิดการหลอมเหลวของแร่ธาตุ

  34. ความร้อนที่สะสมภายในโลกความร้อนที่สะสมภายในโลก • เกิดจาก • การสลายตัวของกัมมันตภาพรังสี • ทำให้บางส่วนภายในของโลก • หลอมละลาย

  35. การหลอมละลายภายในของโลกการหลอมละลายภายในของโลก • โลหะหนักจมตัวลงสู่ใจกลางโลก • ขณะที่แร่ที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า • ลอยตัวขึ้น • เกิดการแบ่งชั้นของโลกเป็น 3 ส่วน

  36. เนื้อโลก (Mantle) • เปลือกโลก (Crust) • แกนโลก (Core) เปลือกโลก (Crust) เนื้อโลก (Mantle) แกนโลก (Core) 6,378 กิโลเมตร การแบ่งชั้นของโลก

  37. การเกิดบรรยากาศและมหาสมุทรการเกิดบรรยากาศและมหาสมุทร • ช่วงเวลาที่โลก • มีการแบ่งออกเป็น 3 ส่วน • บรรยากาศบนผิวโลกตอนแรก • ไม่เหมือนปัจจุบัน ไม่มีอ๊อกซิเจน

  38. มี ก๊าซที่ออกมาจากภูเขาไฟ ก๊าซ ส่วนใหญ่ ประกอบด้วย คาร์บอนใดอ๊อกไซด์ ไนโตรเจน และ ไอน้ำ • ก๊าซ ส่วนน้อย ได้แก่ • แอมโมเนีย มีเทน และ ซัลเฟอร์ใดอ๊อกไซด์

  39. เมื่อโลกเย็นลง บรรยากาศเริ่มเปลี่ยนไป มีการควบแน่นของไอน้ำ เกิดเป็นทะเลและมหาสมุทร นักวิทยาศาสตร์ เชื่อว่า ชีวิตเริ่มแรกเกิดขึ้นในทะเล

  40. การเปลี่ยนแปลง ของพื้นผิวโลก

  41. พื้นผิวโลก มีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นลำดับ มีหลักฐานที่แสดงว่า ทวีปต่าง ๆ ตอนแรก ติดเป็นผืนเดียวกัน

  42. จากนั้น มีการเคลื่อนตัวออกจากกัน ตามแนวความคิด ตามทฤษฎีการเคลื่อนตัวของแผ่นทวีป (Continental drift)

  43. ทฤษฎีแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนตัว กล่าวว่า เปลือกโลกชั้นบนสุด (crust) มีหลายแผ่น ทำตัวเหมือนแผ่นของแข็ง แต่ละแผ่น เคลื่อนตัวหรือลื่นไถล ไปบนส่วนของเนื้อโลก(Mantle) ที่รองรับอยู่ด้านล่าง ส่งผลทำให้ เกิดเป็นแผ่นดินที่แยกตัวออกจากกัน

  44. ทฤษฎีแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนตัว ประมาณ 225 ล้านปีมาแล้ว พื้นผิวโลกรวมตัวเป็นผืนเดียวกันเรียก มหาทวีปพันเจีย แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนบน เรียก ลอเรเซีย (Laurasia) ส่วนล่าง เรียก กอนวานาแลนด์ (Gondwanaland)

  45. อินเดีย อินเดีย ระยะที่ 2 ทั้ง 2 ส่วน เคลื่อนตัวแยกออกจากกัน

  46. ระยะที่ 3 ลอเรเซีย เคลื่อนตัวเปลี่ยนแปลงรูปร่าง เป็นทวีปยุโรป เอเซีย และ อเมริกาเหนือ กอนวานาแลนด์ เปลี่ยนแปลงไปเป็น ทวีปอัฟริกา อเมริกาใต้ ออสเตรเลีย ส่วนของอินเดีย เคลื่อนขึ้นไปชน กับแผ่นดินใหญ่เอเซีย กลายเป็นทวีปเอเซียในที่สุด

  47. หลักฐานที่สนับสนุน การเคลื่อนตัวของพื้นผิวโลก 1) ภาพตัดต่อ จากแผนที่โลกปัจจุบัน ถ้าตัดออกมา ทำเกมส์ภาพต่อ ที่เห็นเด่นชัดที่สุด คือ

  48. แผนที่ ปัจจุบัน ภาพ ตัดต่อ ขอบของอเมริกาใต้ ต่อกับขอบของทวีปอัฟริกา ได้พอดี เนื่องจากทั้งสองส่วน แยกตัวออก มาจาก กอนวานาแลนด์

  49. 2) ร่องลึกในมหาสมุทร • มหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรแปซิฟิกมีร่องลึก • เป็นแนวขนานกับชายฝั่งทั้งสองฟากของทวีป • แสดงว่า ทวีปมีการเคลื่อนตัวแยกออกจากกัน • มีผลต่อการขยายความกว้างของมหาสมุทร • การศึกษาข้อมูล จากดาวเทียม พบว่า • มหาสมุทรแอตแลนติก • ขยายขนาดกว้างขึ้นประมาณ 5 เซนติเมตร/ปี

  50. 3) อายุของหินบริเวณร่องลึก • การตรวจสอบอายุของหินบริเวณร่องลึก • ในมหาสมุทรแอตแลนติค พบว่า • หินบริเวณที่ใกล้ร่องลึกมีอายุน้อยกว่าหิน • ที่อยู่ห่างจากร่องลึกนั้นออกไป • แสดงว่า • ร่องลึกมีการแยกตัวออกตลอดเวลา

More Related