1 / 112

ผู้สนใจสามารถดาวน์โหลด ไฟล์นำเสนอ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

ผู้สนใจสามารถดาวน์โหลด ไฟล์นำเสนอ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเว็บบอร์ดกับนพ.อมร นนทสุต ได้ที่ http://www.esanphc.net หัวข้อ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์. เรื่องหมู ๆ.

albina
Download Presentation

ผู้สนใจสามารถดาวน์โหลด ไฟล์นำเสนอ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผู้สนใจสามารถดาวน์โหลด ไฟล์นำเสนอ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเว็บบอร์ดกับนพ.อมร นนทสุต ได้ที่ http://www.esanphc.netหัวข้อ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

  2. เรื่องหมู ๆ ลุงบุญหนีซื้อหมูมาหนึ่งตัว ราคา 100 บาท เลี้ยงอยู่ระยะหนึ่งก็ขายไปในราคา 200 บาท ต่อมานึกเสียดายจึงไปซื้อคืนมา ในราคา 300 บาท และอีกไม่นานนัก มีผู้มาติดต่อขอซื้อ ลุงบุญหนีก็ขายไปในที่สุดราคา 400 บาท ถ้าไม่คิดค่าใช้จ่ายอื่นๆ ลุงบุญหนีได้กำไร หรือเท่าทุน หรือขาดทุนเป็นเงินเท่าไหร่

  3. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ STRATEGIC ROUTE MAP เป้าหมายสูงสุด/วิสัยทัศน์ แผนงาน/โครงการ การปฏิบัติขององค์กรและบุคคล แผนที่ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์(ที่มีอยู่)

  4. ภาพที่แสดงให้เห็นถึงลักษณะของระยะ ทิศทาง ตำแหน่ง ในการปฏิบัติการหรือสิ่งที่เราจะทำ แผนที่ ยุทธศาสตร์ วิธีการ สำคัญที่ทำให้ไปถึงจุดหมายปลายทางที่ตั้งไว้ ได้ดีที่สุด หรือวิธีการที่จะทำให้งานสำเร็จ

  5. แผนที่หมู่บ้าน V.S. แผนที่ยุทธศาสตร์ อาณาเขต คุ้ม/ละแวก ต่าง ๆ แสดงจุดสำคัญ ๆ ในหมู่บ้าน เช่น วัด โรงเรียน ศาลากลางบ้าน บ้านผู้นำ บ่อน้ำสาธารณะ ฯลฯ แสดงเส้นทางเชื่อมโยงในหมู่บ้าน อาณาเขตมุมมองระดับ ต่าง ๆ แสดงจุดสำคัญของยุทธศาสตร์ ได้แก่ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ (strategic objective)และ กลยุทธ์ของเป้าประสงค์เหล่านั้น แสดงความเชื่อมโยงระหว่าง มุมมอง/เป้าประสงค์

  6. มุมมองในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์มุมมองในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ มุมมองเชิงคุณค่า (ประชาชน) มุมมองผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(ภาคี) มุมมองการบริหารจัดการ(กระบวนการ) มุมมองการเรียนรู้และพัฒนา(รากฐาน)

  7. องค์กรที่จะใช้ยุทธศาสตร์องค์กรที่จะใช้ยุทธศาสตร์ (เจ้าภาพ)

  8. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ STRATEGIC ROUTE MAP • (สรุป) คือ เครื่องมือที่ใช้บริหารจัดการยุทธศาสตร์ที่ท้องถิ่น ชุมชน องค์กรสร้างขึ้นมาหรือมีอยู่แล้ว ให้เกิดความสำเร็จ

  9. คนสำคัญในกระบวนการพัฒนาโดยใช้แผนที่ยุทธศาสตร์คนสำคัญในกระบวนการพัฒนาโดยใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ ผู้นำและแกนนำชุมชน/องค์กร ทีมพี่เลี้ยง/พี่เลี้ยงตัวหลัก ทีมสนับสนุนจากภายนอก ประชาชนในชุมชน/องค์กร ทีมภาคี เครือข่าย ต้องสร้างและใช้ร่วมกัน

  10. SRM กับชีวิตจริงในองค์กรราชการ มีแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ แล้วจะตอบ: ผลสัมฤทธิ์ กระบวนการที่ทำให้เกิดผลสัมฤทธิ์ (หลักฐาน/เหตุผลชัดเจนที่บอกว่าเรามีส่วนสำคัญให้เกิดผลผลสัมฤทธิ์) PMQA : 7 หมวด • SRM : เครื่องนำทางไปสู่จุดหมายปลายทาง • รู้ว่าจะไปทางไหนจึงจะดีที่สุด (ในบริบทต่าง ๆ) • รู้ว่าจะทำอะไรที่สำคัญที่สุด

  11. การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ 2.กำหนดจุดหมายปลายทาง เราจะไปไหน? 3.เขียนแผนที่การเดินทางไปสู่จุดหมายปลายทาง 1.วิเคราะห์สถานการณ์ เราอยู่ที่ไหน?

  12. กระบวนการและขั้นตอนการสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Route Map) 1 วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์ ( กำหนดจุดหมายปลายทาง 1 2 3 (1)สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ (2) ตรวจสอบกับยุทธศาสตร์ สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์และแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ 2 4 สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) นิยามวัตถุประสงค์ (ตาราง 11 ช่อง) 5 นิยามวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด 4 6 สร้างแผนปฏิบัติการ(Mini-SLM) 7 เปิดงานและการติดตามผล

  13. เรื่องการเรียนรู้สำหรับผู้ใหญ่ในช่วงระยะเวลา 3 วัน การอ่าน การฟัง การเห็น การเห็นร่วมกับการฟัง การที่ผู้เรียนพูดออกมา การลงมือทำ 10% 20% 30% 50% 70% 90% ร้อยละในการจดจำ กิจกรรม

  14. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ การวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์การพัฒนา :เราอยู่ตรงไหนของการพัฒนา สถานการณ์การพัฒนาสุขภาพในชุมชน ขั้นตอนนี้มีความสำคัญมาก เพราะเป็นบ่อเกิดของความคิดต่างๆ ที่จะได้รับการบรรจุไว้ในการสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ในขั้นตอนต่อๆ ไป จึงต้องพยายามให้ทีมงานได้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ โดยเฉพาะความคิดใหม่ๆ ที่อาจจะมีอยู่ในตัวผู้ทำงานซึ่งอาจจะแก้ปัญหาที่ประสบอยู่ในขณะนั้นได้ ควรให้เวลาและความประณีตในการร่วมคิด ร่วมทำ ทั้งภาพอดีต ปัจจุบัน อนาคต จุดเด่น จุดด้อย และสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้น

  15. 4 ชุดคำถาม 1.1. ประชาชนในชุมชนของเรา แสดงบทบาทและมีพฤติกรรมอย่างไร ได้รับอะไรจากการพัฒนา รวมทั้งสิ่งดีๆ และสิ่งที่ยังไม่ดีในชุมชนของเราคืออะไรบ้าง 1.2. เราต้องการเห็นประชาชนในชุมชนของเราเป็นอย่างไรบ้างในระยะ 3 – 5 ปีข้างหน้านี้ ทั้งในระดับส่วนบุคคล ครอบครัว องค์กรและทั้งชุมชน ชุดคำถาม1 จัดกลุ่มคำตอบในชุดนี้สู่กลุ่มความคิดเรื่อง ประชาชน

  16. 4 ชุดคำถาม 2.1. ที่ผ่านมา ใครบ้าง กลุ่มใด ที่เป็นเพื่อนของเราในการทำงานพัฒนาสุขภาพชุมชน (ทั้งในชุมชนและนอกชุมชน) เพื่อนเหล่านั้นแสดงบทบาทอย่างไรบ้าง 2.2.เราต้องการให้ใครบ้างมาเป็นเพื่อนร่วมการทำงานในระยะ 3 – 5 ปีข้างหน้านี้ และต้องการให้เพื่อนเหล่านั้นแสดงบทบาทอย่างไรบ้าง ชุดคำถาม2 จัดกลุ่มคำตอบในชุดนี้สู่กลุ่มความคิดเรื่อง ภาคีเครือข่าย

  17. 4 ชุดคำถาม 3.1.ที่ผ่านมาเรามีวิธีการทำงานหรือการบริหารจัดการอย่างไรในการไปสู่เป้าหมาย รวมทั้งการสื่อสารของชุมชน ซึ่งหมายถึง กระบวนการบริหารจัดการที่สำคัญ ๆ 3.2.เราต้องการเห็นกระบวนการทำงานหรือการบริหารจัดการขององค์กรอย่างไรในระยะ 3 – 5 ปีข้างหน้านี้ ชุดคำถาม3 จัดกลุ่มคำตอบในชุดนี้สู่กลุ่มความคิดเรื่อง กระบวนการ

  18. 4 ชุดคำถาม 4.1. ที่ผ่านมาทีมงานของเราเป็นอย่างไรบ้าง ในเรื่องความรู้ความสามารถ คุณธรรม ความเพียร ความรัก สามัคคี รวมถึงโครงสร้างองค์กรในชุมชน วัฒนธรรมชุมชน/องค์กร และวิถีชีวิต การพัฒนาแกนนำของชุมชน 4.2. ในอนาคต เราต้องการเห็นทีมงานของเราเป็นอย่างไรบ้าง ในระยะ 3 – 5 ปีข้างหน้านี้ ชุดคำถาม4 จัดกลุ่มคำตอบในชุดนี้สู่กลุ่มความคิดเรื่อง รากฐาน

  19. 4 ชุดคำถาม 4.3. ที่ผ่านมาข้อมูลที่จำเป็น ในการทำงานของเรามีอะไรบ้าง ได้มาจากไหน อย่างไร และนำไปใช้ประโยชน์อย่างไรบ้าง 4.4.ในอนาคต เราต้องการเห็นระบบข้อมูลของเราเป็นอย่างไรบ้าง ในระยะ 3 – 5 ปีข้างหน้านี้ ชุดคำถาม4 จัดกลุ่มคำตอบในชุดนี้สู่กลุ่มความคิดเรื่อง รากฐาน

  20. สถานการณ์การพัฒนาสุขภาพในชุมชนสถานการณ์การพัฒนาสุขภาพในชุมชน

  21. แผนที่ความคิด (Mind Map) หลักการและกติกา • ทุกความคิดมีค่า อย่าฆ่าทิ้ง • ทุกความคิดเห็นต้องได้รับการบันทึกในแผนที่ • คิดอย่างอิสระ เท่าเทียม ทั่วถึง • จัดระบบความคิด (เป็นกลุ่ม/หมวดหมู่และ เชื่อมโยง)

  22. ขั้นตอนการทำแผนที่ยุทธศาสตร์(Strategic Map) 1. วิเคราะห์สถานการณ์การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบล • จุดดี • จุดด้อย • สิ่งที่อยากเห็น(ประชาชนจะได้อะไร / จะต้องมีอะไร / จะต้องแสดงบทบาทอะไร) • จุดดี • จุดด้อย • กระบวนการ / • การบริหารจัดการขององค์กร • ที่จะทำให้ภาคีแสดงบทบาทได้ ประชาชน กระบวนการ วิเคราะห์ สถานการณ์ • จุดดี / จุดด้อย • สิ่งที่ต้องการเห็นหรือสิ่งที่องค์กรต้องเตรียมให้พร้อม(องค์กรจะเข้มแข็งต้องอาศัยอะไรเป็นพื้นฐาน) พื้นฐาน ภาคี • มีภาคีอะไรบ้าง / เป็นอย่างไร • สิ่งที่อยากเห็นเราคาดหวังให้ภาคี(แต่ละส่วน)แสดงบทบาทอะไร

  23. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ การวิเคราะห์ด้วยภาพแผนที่ความคิด(Mind Map) สถานการณ์โรคที่เป็นภัยเงียบในชุมชน กิ่งทั้ง 4 ของภาพแผนที่ความคิดแสดงให้เห็นถึงสถานการณ์ทั้งหมดที่เป็นอยู่

  24. สรุปบทเรียน 1 บรรยากาศทั่วไปของกลุ่ม –สนุกสนาน (จนบางกลุ่มลืมประเด็น) การมีส่วนร่วม - ดี มีส่วนร่วมทุกคน เนื้อหา/ประเด็น - เวลา - เหมาะสม/ น้อย / พูดมากแต่เก็บประเด็นได้น้อย/อย่ารีบร้อนควรสนใจประสิทธิภาพ บทบาทของสมาชิก/ผู้นำกลุ่ม -ดี อุปสรรค/สิ่งที่ติดขัด – ข้อคำถาม/ประเด็นไม่ชัด/ ไม่ศึกษาประเด็นข้อคำถาม การตีความประเด็นคำถาม ข้อเสนอและวิธีการแก้ปัญหา/อุปสรรคในกลุ่ม - – ควรมีเวลาในการสรุปความคิดรวบยอด, มีปากกาเพิ่ม, มีกระดาษเพิ่ม/ใหญ่ขึ้น อื่น ๆ -

  25. กำหนดจุดหมายปลายทาง (Destination Statement) “ก่อนออกเดินทางต้องทราบจุดหมายปลายทาง”

  26. ความหมายของจุดหมายปลายทางความหมายของจุดหมายปลายทาง • ไม่ใช่การแสดงวิสัยทัศน์หรือพันธะกิจ • อธิบายภาพอนาคตที่คาดหวังอย่างชัดเจน • อธิบายยุทธศาสตร์เดิมที่ใช้อยู่ (ถ้ามี) • กรอบเวลา 3- 5 ปี • แสดงความเป็นไปได้ (ในอำนาจขององค์กรของเรา) • เป็นความคิดใหม่ๆ ที่มีคุณค่าต่อองค์กร/ประชาชน/สังคม • ประกอบด้วยผังจุดหมายปลายทางและคำอธิบาย • มีประมาณ 20-30 จุดหมายปลายทาง

  27. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ผังจุดหมายปลายทาง การจัดการโรคที่เป็นภัยเงียบในชุมชนอำเภอ... ภายในปี พ.ศ. ....

  28. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ลักษณะของผังจุดหมายปลายทาง รวมประโยคไว้ภายใต้หัวข้อจำนวนหนึ่ง กระบวนการ ประชาชน / ชุมชน เราจะทำอะไรที่จะนำรากฐานที่ดีไปสร้างความเปลี่ยนแปลง/กระทบต่อ ภาคี /ประชาชน ต้องการอะไร มีบทบาท มีข้อผูกพันอย่างไร ภาคี / พันธมิตร รากฐาน เราต้องการรูปองค์กรอย่างไร บุคลากรมีกระบวนทัศน์ ทักษะความสามารถ ด้านใด อย่างไรวัฒนธรรมขององค์กรที่ต้องการเป็นอย่างไรฐานข้อมูลที่ต้องการเป็นอย่างไร ใคร/องค์กรใดบ้างที่จะต้องช่วยกัน แต่ละองค์กรต้องมีบทบาทอย่างไรบ้าง

  29. จุดหมายปลายทางการพัฒนาตำบลเหมืองใหม่สร้างสุขภาพ ภายในปี 2554 ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงบริหารจัดการ) มีการสร้างจิตสำนึกและศรัทธา มีระบบการสื่อสารประชาสัมพันธ์ที่เข้าถึงประชาชน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งในและนอกชุมชน มีการสร้างขวัญกำลังใจและเชิดชูเกียรติ มีการเชื่อมโยงระหว่างครอบครัวกับชุมชน มีการสร้างเครือข่ายด้านสุขภาพทั้งภายในและภายนอก มีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ระดับรากฐาน (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) มีศูนย์ข้อมูลข่าวสารทันสมัยเป็นปัจจุบัน มีการสร้างและพัฒนาทักษะผู้นำ มีการทำงานเป็นทีม มีผู้นำที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีบุคลากรเพียงพอ มีทุนในการดำเนินงาน • ระดับประชาชน ชุมชน (มุมมองเชิงคุณค่า) • มีวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเหมาะสม • มีการใช้มาตรการทางสังคมของชุมชน • ประชาชนมีส่วนร่วมกำหนดกิจกรรม • ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • ประชาชนมีสุขภาพดี • ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) • มี อปท. นำร่องด้านสุขภาพ • มีหน่วยงานภาครัฐทำงานสอดคล้องไปในทางเดียวกัน • มีวัดสะอาดและวัดส่งเสริมสุขภาพ • มีโรงเรียนดำเนินกิจกรรมโรงเรียนสีขาว • มีศูนย์ประสานงานองค์กรชุมชนมีประสิทธิภาพ พร้อมคำอธิบาย และ เสนอ ผู้บริหารองค์กร

  30. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จุดหมายปลายทางการพัฒนาตำบลป่าพะยอม กินดี อยู่ดี มีสุข ภายในปี 2552 (28 กค. 49 13.42) • ระดับประชาชน / ชุมชน (มุมมองเชิงคุณค่า) • มีโครงการของชุมชนโดยชุมชน (ธนาคารบุญความดี) • มีระบบเฝ้าระวัง บำรุงรักษา และขจัดสิ่งไม่ดีในชุมชน (ความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สิน/ภัยพิบัติ สิ่งแวดล้อม ฯลฯ) • มีรายได้พอเพียงตามเกณฑ์ จปฐ. • มีครอบครัวอบอุ่น (ลดละเลิกอบายมุข/ปฏิบัติตามกฎจราจร) • มีการกำหนดผังเมืองทั้ง 7 หมู่ • มีกองทุนที่เข้มแข็ง • ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) • เครือข่ายชุมชนภายในตำบลร่วมสนับสนุนทรัพยากร • ม.ทักษิณสนับสนุนวิชาการต่อเนื่อง • อบต./อบจ.สนับสนุนงบประมาณ • องค์กรภาครัฐ สนับสนุนทรัพยากรและแก้ป้ญหา • รัฐวิสาหกิจ/เอกชนสนับสนุนกิจกรรมชุมชนอย่างต่อเนื่อง ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงบริหารจัดการ) • มีการบริหารจัดการกองทุนที่เข้มแข็ง • มีการบริหารจัดการที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ • มีการใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ในการบูรณาการแผนชุมชน(กลไกการประสานงาน กำหนดปฏิทินชุมชน) • มีระบบการสื่อสารที่ดี (ครอบคลุมทุกพื้นที่,กลุ่ม,เครือข่าย) • มีนวัตกรรมสุขภาพของชุมชน • มีการยกฐานะ อบต.เป็นเทศบาลตำบล ระดับรากฐาน (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) • บุคลากรของชุมชน มีความรู้ ทักษะและความสามารถ • มีฐานข้อมูลตำบลที่ครบถ้วนถูกต้อง • มีศูนย์การเรียนรู้ชุมชน • มีวัฒนธรรมชุมชนที่ดี (รัก สามัคคีมีคุณธรรม จริยธรรม ทำงานเป็นทีม) พร้อมคำอธิบาย และ เสนอ ผู้บริหารองค์กร

  31. ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนาสุขภาพระดับตำบล จ.บุรีรัมย์ ภายในปี 2554

  32. แบบผังจุดหมายปลายทาง หมู่บ้านอยู่ดีกินดี อยู่เย็นเป็นสุข อยู่รอดปลอดภัย บ้านคำ-น้ำทิพย์ ตำบลคำเลาะ อำเภอไชยวาน จังหวัดอุดรธานี ภายในปี 2551 – 2554

  33. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์

  34. มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา(ระดับรากฐาน)(Learning and Development Perspective) เป็นมุมมองด้านความพร้อมขององค์กร/พื้นที่ ที่แสดงว่า... ... พัฒนารากฐานอะไร? เพื่อความเข้มแข็งและบรรลุผลการพัฒนาได้ เช่น -คนในองค์กร/พื้นที่... เรียนรู้อะไรบ้าง ต้องการพัฒนาทักษะ/ ความรู้ อย่างไร ? -ข้อมูล....มีการจัดระบบข้อมูล /ใช้ประโยชน์อย่างไร ? -องค์กร... โครงสร้างองค์กร/วัฒนธรรมการทำงานอย่างไร? กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

  35. มุมมองเชิงการบริหารจัดการ(ระดับกระบวนการ)(Management Perspective) เป็นมุมมองด้านการบริหารจัดการภายในองค์กร ที่แสดงถึง ... การพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการอะไร อย่างไร เพื่อตอบสนองเป้าหมายการพัฒนา โดยระบุการบริหารจัดการเฉพาะจุดที่สำคัญสูง เช่น การใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการ การสร้างและบริหารเครือข่าย การจัดระบบการสื่อสารการจัดการนวัตกรรม การพัฒนาระบบบริการ เป็นต้น กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

  36. มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(ระดับภาคี) (Stakeholder Perspective) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เป็นมุมมองด้านบทบาทพันธมิตร/หุ้นส่วนการทำงาน (ภาคีหน่วยงานต่างๆองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/ผู้สนับสนุน และประชาคม) ว่า... ..ผู้มีส่วนร่วมการพัฒนากับเรา คือใครบ้าง? และมีบทบาทอย่างไร? เพื่อสนับสนุนการพัฒนาอย่างสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน/หน่วยงาน… (เป็นผลมาจากการดำเนินการจากรากฐานและกระบวนการ)

More Related