1 / 58

โครงการหมู่บ้านนันทนาการผู้สูงวัย

โครงการหมู่บ้านนันทนาการผู้สูงวัย. Recreation Village For the Elderly. Myu Kewie Cox. A thesis submitted in fulfillment of the requirement for the degree of Bachelor of Architecture Faculty of Architecture, Silpakorn University. The Garden For The Blind. Garden Case Study 1.

alaire
Download Presentation

โครงการหมู่บ้านนันทนาการผู้สูงวัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการหมู่บ้านนันทนาการผู้สูงวัย Recreation Village For the Elderly Myu Kewie Cox A thesis submitted in fulfillment of the requirement for the degree of Bachelor of Architecture Faculty of Architecture, Silpakorn University

  2. The Garden For The Blind Garden Case Study 1 Reference : http://www.ci.longview.tx.us หลักการเป็นสวนสำหรับผู้พิการทางสายตา เนื่องจากการรับรู้จากการมองเห็นได้เสียไป จึงเป็นสวนที่ต้องใช้ ประสาทสัมผัสที่เหลือในการรับรู้แทน โดยมีการจัดสวนให้ง่ายต่อการเข้าถึง และมีระดับต้นไม้ที่สามารถสัมผัสได้ และทางเดินไม่ควรเล่นระดับ SENSES - Taste Herbs, Fruits and Flowers - Smell Gardenias, Herbs, Flowers - Touch Leaves, Flowers, Fruits, and Water - Sound Water, Birds, and Chimes

  3. The Garden For The Blind Reference : The Nature Of Success : Success For Nature 2006

  4. Zen Garden Garden Case Study 2 Zen rock garden, karesansui (dry landscape) There have been many attempts to explain the Zen garden's layout. Some of these are: The gravel represents ocean and the rocks represent the islands of Japan The rocks represent a mother tiger with her cubs, swimming to a dragon The rocks form part of the kanji for heart or mind การนั่งมองสวนหิน ก่อให้เกิดความสงบและความคิด หากผู้สูงวัยในหมู่บ้านนันทนาการมานั่งมองอาจจะทำให้เกิดความคิดดี ๆ เกี่ยวกับชีวิต หรือว่าเกิดความสงบและช่วยลดความฟุ้งซ่าน Reference : http://en.wikipedia.org

  5. Zen Garden Ryōanji (Peaceful Dragon Temple) is a Zen templeand World Heritage Site in northwest Kyoto, Japan. It is best known for its Zen garden,

  6. Zen Garden The garden is constructed in Karesansui style. It is 30 meters long from east to west and 10 meters from north to south. There are no trees, just 15 irregularly shaped rocks of varying sizes, some surrounded by moss, arranged in a bed of white gravel/sand that is raked every day

  7. Zen Garden มีก้อนหินในกระบะทั้งหมด 15 ก้อน15 = ความสมบูรณ์ บรรลุ In the Buddhist world the number 15 denotes completeness. But When looking at the garden from any angle, only 14 are visible at one time. According to legend, only when someone attains spiritual enlightenment as a result of deep Zen meditation they can see the last invisible stone with his mind's eye.

  8. Zen Garden Zen garden secrets revealed "What's so special about the garden at Ryoanji?" "The spaces between the rocks," A team at Kyoto University in Japan used computer analysis to study one of the most famous Zen gardens in the world to discover why it has a calming effect on the hundreds of thousands of visitors who come every year. According to the researchers, one critical axis of symmetry passes close to the centre of the main hall, which is the traditionally preferred viewing point. In essence, viewing the placement of the stones from a sightline along this point brings a shape from nature (a dichotomously branched tree with a mean branch length decreasing monotonically from the trunk to the tertiary level) in relief.

  9. Zen Garden Tenryuuji

  10. Schedule นาฬิกาชีวิต หมู่บ้านนันทนาการผู้สูงวัย 01.00 – 03.00 ตับ นอนหลับพักผ่อนให้สนิท 03.00 – 05.00 ตื่นนอน สูดอากาศบริสุทธิ์ ปอด 05.00 – 07.00 ขับถ่าย ลำไส้ใหญ่ 07.00 – 09.00 กระเพาะอาหาร รับประทานอาหารเช้า 07.30 – 08.30 รับประทานอาหารเช้า พูดน้อย ทานน้อย ไม่นอนหลีกเลี่ยงความเครียดทั้งปวงงดทานอาหารทุกประเภททำให้เหงื่อออกทำให้สดชื่น ไม่ง่วงซึม 08.30 – 11.30 ทำกิจกรรม ออกกำลังกาย11.30 – 12.30 ทานอาหารกลางวัน 09.00 – 11.0011.00 – 13.0013.00 – 15.0015.00 – 17.0017.00 – 19.00 ม้ามหัวใจลำไส้เล็กกระเพาะปัสสาวะไต 12.30 – 15.30 กิจกรรมนันทนาการ Passive 15.30 – 17.30 กิจกรรมนันทนาการ Active 19.00 – 21.0021.00 – 23.0023.00 – 01.00 เยื่อหุ้มหัวใจระบบความร้อนถุงน้ำดี ทำสมาธิ หรือสวดมนต์ทำให้ร่างกายอบอุ่น ดื่มน้ำก่อนเข้านอน 18.30 – 19.30 รับประทานอาหารเย็น19.30 – 21.30 นั่งสมาธิ สวดมนต์ ฟังธรรม21.30 – 07.30 พักผ่อน นอนหลับ Reference : หนังสือนาฬิกาชีวิต โดย อ.นวลฉวี ทรรพนันท์

  11. Schedule หมู่บ้านนันทนาการผู้สูงวัย 07.30 – 08.30 รับประทานอาหารเช้า 08.30 – 11.30 ทำกิจกรรม ออกกำลังกาย11.30 – 12.30 ทานอาหารกลางวัน 12.30 – 15.30 กิจกรรมนันทนาการ Passive 15.30 – 17.30 กิจกรรมนันทนาการ Active 18.30 – 19.30 รับประทานอาหารเย็น19.30 – 21.30 นั่งสมาธิ สวดมนต์ ฟังธรรม21.30 – 07.30 พักผ่อน นอนหลับ

  12. Site ที่ดิน ถนน ภูเขา แหล่งน้ำ ชุมชน ที่จับจ่ายใช้สอย ตลาด โรงพยาบาล โรงเรียน วัด

  13. Site N W E

  14. Site

  15. Site N W E

  16. Site

  17. Site N W E

  18. Site

  19. Site N W E

  20. Site

  21. Site N W E

  22. Site

  23. LAW -- อาคารสาธารณะ (ส่วนนันทนาการ) -- ที่พักอาศัย -- สถานพยาบาลประเภทรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน (ส่วนส่งเสริมสุขภาพ) • - กฎกระทรวงฉบับที่ 55 พ.ศ. 2543 - กฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล • กฎกระทรวงฉบับที่ 7และ 41 เกี่ยวกับที่จอดรถยนต์- กฎกระทรวง กำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผู้พิการ หรือทุพพลภาพและ คนชรา พ.ศ.2548- ข้อกำหนดเกี่ยวกับการจัดสรรที่ดินจังหวัดสระบุรี พศ 2547

  24. LAW 6 เมตร

  25. LAW 1. ห้องที่ใช้เป็นที่พักอาศัย บ้านแถว ห้องพักโรงแรม ห้องเรียน นักเรียนอนุบาล ครัวสำหรับอาคารที่อยู่อาศัย ห้องพักคนไข้พิเศษ ช่องทางเดินในอาคาร ระยะดิ่ง 2.6 ม 2. ห้องที่ใช้เป็นสำนักงาน ห้องเรียน ห้องอาหาร ห้องโถงภัตตาคาร โรงงาน ระยะดิ่ง 3.00เมตร

  26. LAW 3.ห้องขายสินค้า ห้องประชุม ห้องคนไข้รวม คลังสินค้า โรงครัว ตลาด และอื่นๆที่คล้ายกัน 3.50 เมตร 4. ระเบียงระยะดิ่ง 2.20 เมตร

  27. LAW การก่อสร้างอาคารใกล้อาคารอื่นในที่ดินเจ้าของเดียวกัน พื้นหรือผนังของอาคารสำหรับอาคารสูงไม่เกิน9เมตร ต้องห่างอาคารอื่นไม่น้อยกว่า4เมตร และสำหรับอาคารที่สูงเกิน9เมตร แต่ไม่ถึง23เมตร ต้องห่างอาคารอื่นไม่น้อยกว่า6เมตร 4 6

  28. LAW กฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล 1)ตั้งอยู่ในทำเลที่สะดวกปลอดภัยและไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 2)สำหรับสถานพยาบาลที่มีลักษณะเป็นโรงพยาบาลโครงสร้างของอาคารต้องไม่ติดกับอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างอื่นๆ 3)อาคารที่ให้บริการผู้ป่วยตั้งแต่3ชั้นขึ้นไปจะต้องมีลิฟต์บรรทุกเตียงผู้ป่วยอย่างน้อยหนึ่งตัวและเพิ่มขึ้นตามความเหมาะสมของจำนวนเตียงหรือมีทางลาดเอียงเพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย 4000 - 4500 lb. 4000 - 4500 lb.

  29. LAW กฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล 4)ทางสัญจรร่วมในส่วนให้บริการผู้ป่วยต้องกว้างไม่น้อยกว่า2.00เมตรถ้ามีระดับพื้นสูงต่ำไม่เท่ากันต้องมีทางลาดเอียงซึ่งมีความลาดเอียงไม่เกิน15องศา 2 เมตร 5) ต้องจัดสถานที่ละอุปกรณ์อำนวยความสะดวกที่เหมาะกับผู้สูงอายุและผู้พิการตามลักษณะของสถานพยาบาลทั้งนี้อย่างน้อยต้องมีทางลาดเอียงราวเกาะและห้องน้ำสำหรับผู้พิการ 6)กิจกรรมอื่นซึ่งเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ผู้มาใช้บริการเช่นร้านอาหารร้านขายของจะต้องไม่อยู่ในบริเวณแผนกผู้ป่วยใน และแยกเป็นสัดส่วนไม่ให้ปะปนกับการให้บริการในบริเวณแผนกผู้ป่วยนอก

  30. 5.00 m. 2.40 m. LAW กฎหมายเกี่ยวกับที่จอดรถ ที่จอดรถ 1 คัน ต้องเป็นพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า และต้องมีลักษณะและขนาด ดังนี้ กรณีจอดรถตั้งฉากกับทางเดิน ความกว้าง 2.40 m ความยาว 5.00 m

  31. LAW กฎหมายเกี่ยวกับที่จอดรถ กรณีจอดขนานหรือทำมุม น้อยกว่า30 องศา กับทางเดินรถ ความกว้าง 2.40 m ยาวไม่น้อยกว่า 6.00 m ทางวิ่งรถต้องกว้างอย่างน้อย 3.50 m กรณีจอดขนานหรือทำมุม มากกว่า30 องศา กับทางเดินรถ ความกว้าง 2.40 m ยาวไม่น้อยกว่า 5.50 m ทางวิ่งรถต้องกว้างอย่างน้อย 5.50 m

  32. ไม่น้อยกว่า 3.5 ม. ไม่น้อยกว่า 6 ม. LAW กฎหมายเกี่ยวกับที่จอดรถ * ที่จอดรถต้องทำขอบเขตให้ชัดเจน * ต้องมีทางเดินรถเชื่อมต่อโดยตรงกับทางเข้า – ออก และ ที่กลับรถ ทางเข้าออกของรถยนต์ ต้องกว้างไม่น้อยกว่า 6.00 เมตร ในกรณีที่จัดให้รถยนต์วิ่งได้ทางเดียว ทางเข้าและทางออก ต้องกว้างไม่น้อยกว่า 3.50 เมตร

  33. LAW กฎหมายเกี่ยวกับที่จอดรถ อาคารจอดรถที่อยู่ต่ำกว่าระดับพื้นดิน ต้องจัดให้มีระบบระบายอากาศ ซึ่งสามารถเปลี่ยนอากาศภายในชั้นนั้นๆได้หมดในเวลา 15 นาที

  34. LAW กฎหมายเกี่ยวกับที่จอดรถ • อาคารจอดรถเหนือระดับพื้นดิน • ที่มีบุคคลเข้าไปใช้สอยต้องมีระบบระบายอากาศอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ • ถ้าใช้ส่วนเปิดโล่งเป็นที่ระบายอากาศ ส่วนเปิดโล่งดังกล่าวต้องมีพื้นที่ไม่น้อยกว่าร้อยละ20 ของพื้นที่อาคารจอดรถชั้นนั้นและต้องมี ที่ว่างห่างอาคารข้างเคียงหรืออาคารอื่น ไม่ว่าจะเป็นเจ้าของเดียวกันหรือไม่ ไม่น้อยกว่า 3 เมตร

  35. LAW กฎหมายเกี่ยวกับที่จอดรถ • อาคารจอดรถเหนือระดับพื้นดิน • ถ้าใช้เครื่องระบายอากาศเพื่อระบายอากาศ ต้องจัดให้มีเครื่องระบายอากาศ • ซึ่งสามารถเปลี่ยนอากาศในชั้นนั้นหมดภายในเวลา 15นาที

  36. LAW กฎหมายเกี่ยวกับที่จอดรถ ทางลาด ขึ้นลงสำหรับรถระหว่างชั้นลาดชันได้ ไม่เกินร้อยละ 15 ทางลาดช่วงหนึ่ง ต้องสูงไม่เกิน 5 เมตร ทางลาดที่สูงเกิน 5 เมตร ต้องทำชานพัก ยาวไม่น้อยกว่า 6 เมตร ทางลาดแบบโค้งหรือวงเวียน ต้องมีรัศมีความโค้งจากขอบด้านใน ไม่น้อยกว่า 6 เมตร พื้นทางลาดชันจะได้ๆ ไม่เกินร้อยละ 12

  37. LAW ข้อพิจารณาสำหรับผู้ทุพพลภาพและคนชรา 1.ป้ายแสดงสิ่งอำนวยความสะดวก เป็นแผ่นป้าย สีน้ำเงิน ตัวหนังสือ สีขาว หรือแผ่นป้าย สีขาว ตัวหนังสือ สีน้ำเงิน มีแสงสว่างให้เห็นเวลากลางคืน ตั้งอยู่บริเวณที่เห็นได้ง่าย 2.ทางลาดและลิฟท์ 2.1ทางลาด พื้นสูงมากกว่า 2 ซม. ต้องมีทางลาด พื้นสูงน้อยกว่า 2 ซม. ปาดขอบ 45 องศา โดยพื้นลาดเป็นผิวเรียบไม่ลื่น มีความกว้างอย่างน้อย 0.90 ม. และยาวไม่น้อยกว่า 1.50 ม. โดยทางลาดเอียงมี slope 1:12 ยาวไม่เกิน 6.00 ม. ( ถ้าเกินต้องมีชานพัก ) มีราวกันตกสูงอย่างน้อย 0.50 ม.

  38. LAW ข้อพิจารณาสำหรับผู้ทุพพลภาพและคนชรา 3.บันได มีความกว้างอย่างน้อย 1.50 ม. มีชานพักทุกความสูง 2 ม. ลูกตั้ง ( ห้ามโล่ง ) สูงไม่เกิน 0.15 ม. ลูกนอน กว้างอย่างน้อย 0.28 ม. 4.พื้นและทางเชื่อม 1) มีทางเดินเชื่อมต่อพื้นที่ระหว่างอาคารไปสู่ทางสาธารณะและที่จอดรถ กว้างไม่น้อยกว่า 1.50 ม. ทางแยกเลี้ยวต้องเปลี่ยนพื้นผิวสัมผัส 2)  ระเบียงอาคารให้มีพื้นผิวเรียบเสมอไม่ขรุขระไม่มีสิ่งกีดขวาง 3)  ความกว้างของระเบียงไม่น้อยกว่า 1.00 เมตร และให้มีราวกั้นด้านนอกของระเบียงสูงไม่น้อยกว่า 1.00 เมตร

  39. LAW ข้อพิจารณาสำหรับผู้ทุพพลภาพและคนชรา 5.ที่จอดรถคนพิการ ที่จอดรถคนพิการให้จัดไว้ใกล้ทางเข้าอาคารมากที่สุด และพื้นลานจอดรถให้มีพื้นผิวเรียบเสมอกัน พร้อมทั้งทำสัญลักษณ์แสดงไว้ให้ชัดเจนว่า เป็นที่สำหรับจอดรถคนพิการ

  40. LAW ข้อพิจารณาสำหรับผู้ทุพพลภาพและคนชรา 6. ห้องน้ำ อย่างน้อย 1 ห้อง อยู่รวมกับบริเวณห้องน้ำคนทั่วไป ประตูส้วมเป็นบานเปิดออก พื้นเสมอกับระดับปกติ มีราวจับช่วยพยุงตัวสูง 0.65 - 0.70 ม. ยาวไม่น้อยกว่า 0.60 ม. ด้านข้างโถส้วมมีราวจับติดผนัง มีสัญญาณขอความช่วยเหลือ ประตูห้องส้วมกว้างยาวไม่น้อยกว่า 1.70 x 1.70 เมตร มีราวจับในแนวนอนระดับความสูงไม่ต่ำกว่า 60 ซม. และแนวดิ่งให้มีความยาวไม่ต่ำกว่า 60 ซม. ในที่อาบน้ำและห้องส้วม

  41. 1.50 0.20 0.90 1.40 LAW ข้อพิจารณาสำหรับผู้ทุพพลภาพและคนชรา 6.พื้นผิวต่างสัมผัส ใช้เมื่อเกิดพื้นต่างระดับตั้งแต่ 0.20 ม. ขึ้นไป มีความยาวเท่ากับช่องทางเดิน 7.ประตูสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ 1)  ประตูควรมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 85 ซม. 2)  มือจับปิดเปิดปนระตูควรเป็นชนิดก้าน ติดตั้งในแนวราบและอยู่สูงจากพื้น 90 ซม. 8.ที่นั่งคนพิการในห้องประชุม มีพื้นที่สำหรับคนพิการอย่างน้อย 1 ที่ / ที่นั่งปกติ 100 ที่

  42. Project Abstract โครงการหมู่บ้านนันทนาการผู้สูงวัย Recreation Village For the Elderly ลักษณะโครงการ ดำเนินงานโดยเอกชน เป้าหมายของโครงการ 1. สร้างสถาปัตยกรรมเพื่อเพิ่มทางเลือกให้ประชากรในสังคม ส่งเสริมให้มีการเตรียมพร้อมในการเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ ลดปัญหาสังคมในส่วนของผู้สูงอายุไร้ที่พึ่งพิง และลดภาระของลูกหลานที่ไม่มีเวลาดูแลผู้สูงอายุ2. เป็นที่พักสำหรับผู้สูงวัยเพื่อให้ได้ใช้ชีวิตบั้นปลายอย่างมีคุณภาพ อยู่ในสภาพแวดล้อมธรรมชาติที่สงบ ร่มรื่น เหมาะสำหรับการบำบัดและพักผ่อน และสามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้3. สนับสนุนให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสในการถ่ายทอดศักยภาพที่มีอยู่ในตัวเอง รวมทั้งได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความรู้ ภูมิปัญญา และทักษะร่วมกับบุคคลอื่น ทำให้เกิดประโยชน์เชิงสร้างสรรค์ต่อผู้สูงอายุ ครอบครัว และชุมชน4. เป็นสถานที่ให้บริการทางด้านส่งเสริมสุขภาพแก่ผู้ที่สนใจ

  43. Project Abstract ที่ตั้งโครงการ หมู่บ้านนิคมสร้างตนเอง อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี

  44. Project Abstract กลุ่มผู้ใช้งาน 1. IndependentSeniors522. DependentSeniors 303. นักท่องเที่ยว20-304. ประชาชนทั่วไป(มาใช้ส่วนส่งเสริมสุขภาพ และภัตตาคาร)

  45. Project Abstract จำนวนบุคลากร 96 อัตรา

  46. Project Abstract สรุปพื้นที่ใช้สอยในโครงการ 13.50ไร่ (21595.46 ตร.ม.) พื้นที่อาคารคลุมดิน10797.73 ตร.ม.Open Space 100% 10797.73 ตร.ม.รวมพื้นที่ทั้งหมด 21595.46 ตร.ม..

  47. Project Abstract ขนาดที่ดิน ประมาณ 20 ไร่

  48. Project Abstract Comparative Area 1 ไร่

  49. Project Abstract Comparative Area 1 ไร่

More Related