210 likes | 375 Views
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. การเกิดภาวะโลกร้อน. 1. 2. 3. ก่อให้เกิด ภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (Climate change). 4. ที่มา : ONEP, 2006. การเกิดภาวะโลกร้อน. ก๊าซเรือนกระจก ได้แก่
E N D
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การเกิดภาวะโลกร้อน 1 2 3 ก่อให้เกิด ภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (Climate change) 4 ที่มา: ONEP, 2006
การเกิดภาวะโลกร้อน • ก๊าซเรือนกระจก ได้แก่ • ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์: การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากถ่านหิน น้ำมัน • ก๊าซมีเทน: การหมักหรือเน่าเปื่อยของขยะ น้ำเสีย ปศุสัตว์ • ก๊าซไนตรัสออกไซด์: การใช้ปุ๋ยไนโตรเจนในการเกษตร การเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล • ก๊าซโอโซน: เกิดจากการเพิ่มขึ้นของสารบางชนิด เช่น คาร์บอนมอนอกไซด์ • สารฮาโลคาร์บอน ได้แก่ CFCs, HFCs และ PFCs: จากกระบวนการผลิตในงานอุตสาหกรรม
กิจกรรมของมนุษย์เป็นสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดการเพิ่มขึ้นของปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในวงจรคาร์บอนของโลกกิจกรรมของมนุษย์เป็นสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดการเพิ่มขึ้นของปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในวงจรคาร์บอนของโลก ป่าไม้ ทั้งเป็นแหล่งดูดซับและปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กิจกรรมการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ การผลิตและการใช้พลังงาน การอุตสาหกรรม คมนาคมขนส่งนับเป็นสาเหตุสำคัญของการปล่อยก๊าซ CO2 ไฟป่าและการเผาป่าปล่อยก๊าซ CO2 Source: IPCC (2005), ONEP
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกการปล่อยก๊าซเรือนกระจก • ประเทศพัฒนาแล้วมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสะสมต่อเนื่องมาจากการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและสังคม • ประเทศกำลังพัฒนามีการปล่อยเพื่อการพัฒนาประเทศ และเพื่อความอยู่รอดของประชากรในประเทศ
การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากประเทศต่างๆการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากประเทศต่างๆ ที่มา: ดร.กัณฑรีย์ บุญประกอบ
ที่มา: ดร.กัณฑรีย์ บุญประกอบ
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย ในปี 2546 Emission (1000 tons) 56.1% 24.1% 7.8% 6.6% 5.4% Sources of emission by sector
การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของประเทศไทยการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของประเทศไทย ที่มา: National Clean Development Mechanism Study for the Kingdom of Thailand, 2002
การคาดการณ์การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยการคาดการณ์การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกเกิดจากการใช้พลังงาน ในภาคอุตสาหกรรม ประเทศเศรษฐกิจกำลังเปลี่ยนแปลง (กลุ่มยุโรปตะวันออก) ประเทศอุตสาหกรรม ประเทศกำลังพัฒนาในภูมิภาคเอเชีย และแปซิฟิค IPCC (2005)
ผลกระทบวิกฤติโลกร้อน • การเกษตร • ทรัพยากรน้ำ • ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรชีวภาพ และระบบนิเวศ • สุขภาพของมนุษย์ • โครงสร้างพื้นฐาน และการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์
ผลกระทบวิกฤติโลกร้อนต่อภาคการเกษตรผลกระทบวิกฤติโลกร้อนต่อภาคการเกษตร • ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล เกิดภัยแล้ง น้ำท่วม การรุกของน้ำเค็ม • เกิดโรคระบาดของแมลงศัตรูพืชและโรคพืช การแพร่กระจายของวัชพืช • การเปลี่ยนแปลงสภาพฝน จะมีผลต่อความชุ่มชื้นในดิน • อุณหภูมิที่สูงขึ้น จะมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช • ผลผลิตตกต่ำหรือไม่ได้ผลเท่าที่ควร
ผลกระทบวิกฤติโลกร้อนต่อทรัพยากรน้ำผลกระทบวิกฤติโลกร้อนต่อทรัพยากรน้ำ • จะมีฝนตกมากขึ้นบางพื้นที่ และลดลงในบางพื้นที่ ส่งผลต่อ • ปริมาณน้ำ ระบบนิเวศน้ำจืด และน้ำใต้ดินในระยะยาว • ปริมาณน้ำฝนที่เปลี่ยนแปลง จะกระทบต่อการกักเก็บน้ำใน • อ่างเก็บน้ำ บ่อน้ำ • ปัญหาการขาดแคลนน้ำในหน้าแล้ง นำไปสู่ความขัดแย้งของการจัดสรรน้ำ
ผลกระทบวิกฤติโลกร้อนต่อความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศผลกระทบวิกฤติโลกร้อนต่อความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ • หากอุณหภูมิเฉลี่ยโลก เพิ่มขึ้นเพียง 1o C อาจมีผลกระทบต่อองค์ประกอบพันธุ์ไม้ในป่า ป่าบางชนิดอาจสูญสลาย ศัตรูพืชคุกคาม และเกิดไฟป่าเพิ่มขึ้น • สิ่งมีชีวิตในพื้นที่ระบบนิเวศธรรมชาติ จะเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบ และการกระจายตัว • พื้นที่ชุ่มน้ำ อาจลดลงเนื่องจากอัตราการระเหยที่เร็วขึ้น จะส่งผลต่อแหล่งอาศัย และขยายพันธุ์ของพืชและสัตว์
ผลกระทบวิกฤติโลกร้อนต่อโครงสร้างพื้นฐานอุตสาหกรรมและการตั้งถิ่นฐานผลกระทบวิกฤติโลกร้อนต่อโครงสร้างพื้นฐานอุตสาหกรรมและการตั้งถิ่นฐาน • การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รุนแรง สามารถทำลายโครงสร้างพื้นฐานหรือส่งผลเสียหายต่อการผลิต • การเพิ่มของระดับน้ำทะเล พายุ และน้ำท่วม ทำให้ประชาชนต้องอพยพ ส่งผลต่อเนื่องต่อโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่ที่ลึกเข้าไป
ความเสียหายทางเศรษฐกิจจากเหตุการณ์สภาพอากาศรุนแรง เช่น น้ำท่วม พายุระหว่างปี 2493 - 2541 Source: IPCC, 2005 2533 2543 Source: IPCC, 2005
ผลกระทบวิกฤติโลกร้อนต่อสุขภาพอนามัยผลกระทบวิกฤติโลกร้อนต่อสุขภาพอนามัย • อุณหภูมิที่อุ่นขึ้น ฝนตกมากขึ้น ทำให้เป็นปัจจัยที่เหมาะสมสำหรับยุงหรือแมลงที่เป็นพาหะนำโรคติดต่อ เช่น โรคมาลาเรีย และไข้สมองอักเสบ ระบาดมากขึ้น • อากาศที่ร้อนทำให้เกิดมลพิษทางอากาศและทางน้ำสูงขึ้น ทำให้อาหารเน่าเสียง่ายขึ้น ส่งผลให้มีผู้ป่วยด้วยระบบทางเดินอาหารมากขึ้น • การเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศทำให้โอกาสที่จะเกิดคลื่นความร้อนมีสูงขึ้น เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการเสียชีวิตอย่างฉับพลันโดยเฉพาะกับประชากรในประเทศเขตหนาว
การใช้พลังงานของบ้านเรือน… สาเหตุหนึ่งที่ทำให้โลกร้อน กิจกรรมในครัวเรือนและชีวิตประจำวันที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ที่มา: Australian Greenhouse Office (www.greenhouse.gov.au)
การใช้พลังงานของบ้านเรือน… สาเหตุหนึ่งที่ทำให้โลกร้อน การเดินทางด้วยวิธีต่างๆ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่าไร ปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG (kg./cap/km) ที่มา: Australian Greenhouse Office (www.greenhouse.gov.au)