1 / 49

แนวทางใหม่ในการพัฒนานักศึกษา

แนวทางใหม่ในการพัฒนานักศึกษา. ผศ.มานิตย์ ผิวขาว รักษาราชการแทนผู้ช่วยคณบดีคณะสังคมศาสตร์ บูรณา การ ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เศรษฐศาสตร บัณฑิต. แนวทางใหม่ในการพัฒนานักศึกษา. แผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี กับการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา. แนวทางใหม่ในการพัฒนานักศึกษา.

Download Presentation

แนวทางใหม่ในการพัฒนานักศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางใหม่ในการพัฒนานักศึกษาแนวทางใหม่ในการพัฒนานักศึกษา ผศ.มานิตย์ ผิวขาว รักษาราชการแทนผู้ช่วยคณบดีคณะสังคมศาสตร์บูรณาการ ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต

  2. แนวทางใหม่ในการพัฒนานักศึกษาแนวทางใหม่ในการพัฒนานักศึกษา แผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปีกับการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา แนวทางใหม่ในการพัฒนานักศึกษา ผลกระทบจากปัจจัยภายนอกต่ออุดมศึกษา แนวโน้มอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย เป้าหมายของกรอบแผนอุดมศึกษา สิ่งที่ต้องพัฒนา แนวทางการพัฒนานักศึกษา โจทย์ของการพัฒนานักศึกษา กรณีศึกษา การพัฒนานักศึกษาของมหาวิทยาลัยต่างๆ คิดนอกกรอบกับการพัฒนานักศึกษา

  3. แผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปีกับการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา • ผลกระทบจากปัจจัยภายนอกต่ออุดมศึกษา • แนวโน้มอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย • เป้าหมายของกรอบแผนอุดมศึกษา • สิ่งที่ต้องพัฒนา • แนวทางการพัฒนานักศึกษา

  4. ผลกระทบจากปัจจัยภายนอกต่ออุดมศึกษาผลกระทบจากปัจจัยภายนอกต่ออุดมศึกษา • การเปิดเสรีทางการค้า ( ระดับ ทวิภาคี และ พหุภาคี ) - เกี่ยวข้องกับขีดความสามารถในการแข่งขัน • ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี – เกี่ยวข้องกับการวิจัยและพัฒนา • ความขัดแย้งทางการเมือง – เกี่ยวข้องกับ กระบวนการสันติภาพและสันติศึกษา • การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศใหญ่ – จีน อินเดียมีสัมพันธภาพและความร่วมมือที่ดีกับประเทศไทยและอุดมศึกษา • สังคมไทย มีการเคลื่อนตัวของสังคมภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ • ภาคการผลิตใหม่- อุตสาหกรรมฐานความรู้ รูปแบบการใช้พลังงานที่พึ่งพิงการนำเข้า • แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใช้ภาคเศรษฐกิจและสังคม

  5. แนวโน้มอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย (1) • ความเปลี่ยนแปลงด้านประชากร - ประชากรไทยเพิ่มช้าๆ เด็กเยาวชนลดลง ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้อุดมศึกษาไทยต้องลดกาขยายตัว เน้นคุณภาพเน้นการเพิ่มผลผลิตของคนวัยทำงาน - เน้นการศึกษาต่อเนื่องที่รองรับการเปลี่ยนอาชีพ ต้องส่งเสริมผู้สูงอายุให้มีประสิทธิภาพการผลิต

  6. แนวโน้มอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย (2) • พลังงานและสิ่งแวดล้อม - พึ่งพิงการนำเข้าสูง มีผลต่อเศรษฐกิจเพราะราคาเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ อุดมศึกษาต้องสร้างความตระหนักต่อพลังงาน สิ่งแวดล้อม - ผลิตบัณฑิตที่สร้างความรู้สึกด้านอนุรักษ์และจัดการพลังงาน พลังหมุนเวียน โดยเฉพาะพลังงานชีวภาพและพลังงานทางเลือก - สร้างคนและองค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ น้ำ ป่าไม้ และ ระบบนิเวศ

  7. แนวโน้มอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย (4) • การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจไทย

  8. แนวโน้มอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย (5) • โลกาภิวัตน์

  9. แนวโน้มอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย (6) • ความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี - เพิ่มผลิตภาพ (Productivity) และ สร้างนวัตกรรม (innovation)ในการผลิตสินค้า - เน้นวิจัยพัฒนา

  10. แนวโน้มอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย (7) • โลกยุคสารสนเทศ

  11. ภาพอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย (8) • การกระจายอำนาจการปกครอง

  12. ภาพอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย (9) • การจัดการกับความขัดแย้งและความรุนแรง • ความรุนแรงในสามจังหวัดภาคใต้

  13. แนวโน้มอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย (10) • เยาวชนไทย นักศึกษาไทย และบัณฑิตในอนาคต (1)

  14. แนวโน้มอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย (11) • เยาวชนไทย นักศึกษาไทย และบัณฑิตไทยในอนาคต (2)

  15. แนวโน้มอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย (12) • เยาวชนไทย นักศึกษาไทย และบัณฑิตไทยในอนาคต (3) • ค่านิยมศึกษาในศาสตร์เฉพาะ สาขาเฉพาะไม่เพียงพอ • ต้องเสริมความรู้สมรรถนะที่ช่วยให้สามารถปรับตัวอยู่ในตลาดแรงงาน ได้เป็นอย่างดี • ด้านการอยู่ร่วมในสังคม • การสร้างสรรค์ • ความรู้เชิงปฏิบัติ • ความรู้ พื้นฐานทางโลก ปรัชญา และ สังคม

  16. เป้าหมายของกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว ฉบับที่ 2(2551 - 2565) “ ยกระดับอุดมศึกษาไทย เพื่อผลิตและพัฒนาบุคลากรที่มีคุณภาพสามารถปรับตัวสำหรับงานที่เกิดขึ้นตลอดชีวิต พัฒนาศักยภาพอุดมศึกษาในการสร้างความรู้และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในโลกาภิวัฒน์ สนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืนของท้องถิ่นไทย โดยใช้กลไกของธรรมาภิบาล การเงิน การกำกับมาตรฐาน และเครือข่ายอุดมศึกษาบนพื้นฐานของเสรีภาพทางวิชาการ ความหลากหลายและเอกภาพเชิงระบบ ”

  17. ประเด็นสำคัญในแผนอุดมศึกษาระยะยาว ฉบับที่ 2(2551 - 2565) • การสร้างความสามารถในการรองรับตลาดแรงงานใหม่ - ไมแน่นอน - ทำงานไม่ตรงกับสาขาที่เรียน - เปลี่ยนงานได้บ่อย สาเหตุสำคัญ - ตลาดแรงงานเปลี่ยนบ่อย ยากจะผลิตให้ตรงได้ - ระบบการจ้างงานเปลี่ยนไป - รายได้ไม่แนอน - อายุคน ยืนยาว อาจเปลี่ยงานมากกว่า 1 ครั้ง แนวทางการพัฒนา - ความรู้จริง จากสถานประกอบการและชุมชน - สร้างงานได้ด้วยตนเอง - เรียนรู้วิชาเฉพาะมากกว่า 1 สาขา - เรียนรู้ได้ตลอดชีวิต - สร้างทักษะชีวิตและงาน

  18. การสร้างความสามารถเพื่อแข่งขันกับนานาชาติการสร้างความสามารถเพื่อแข่งขันกับนานาชาติ - ภาษา และวัฒธรรม - การทำงานระดับนานาชาติ สาเหตุ - การตกลงทางการค้าแบบทวิภาคี พหุภาคี - ทำให้เกิดการแข่งขันในการผลิตสินค้า - การลงทุนในประเทศและต่างประเทศ - ตลาดแรงงานในต่างประเทศและการแข่งขัน

  19. การพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งของสังคมการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งของสังคม - พหุลักษณ์ พหุวัฒนธรรม - สันติวิธี - สืทธิมนุษยชน สาเหตุ - ความหลากหลายในเผ่าพันธ์ - การรับรู้ข่าวสาร - ผลประโยน์ ความขัดแย้งเกิดขึ้นได้แต่ต้องแก้ไข ด้วยสันติวิธี บนพื่นฐานประชาธิปไตยและเคารพสิทธิมนุษยชน

  20. การสร้างความรู้ความสามารถเพื่อรองรับการแพร่ขยาย ความรู้ข่าวสารและวัฒนธรรม - การคิดวิเคราะห์ - ค่านิยมไทย ประเพณี วัฒนธรรมไทย สาเหตุ - ความเจริญทางด้าน IT - การแพร่ขยายทางวัฒนธรรมจากต่างประเทศ

  21. ค่านิยม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - ความพอเพียง - ความมีเหตุผล - การมีภูมิคุ้มกัน สาเหตุ - ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม - คนล้มเหลวในการจัดการด้านเศรษฐกิจ - การแพร่ขยายทางวัฒนธรรม

  22. ความตระหนักใน เรื่อง สิ่งแวดล้อมและพลังงาน - การประหยัดพลังงาน - การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สาเหตุ - เราต้องพึ่งพิงสิ่งแวดล้อมและพลังงาน - เราต้องอาศัยการนำเข้าพลังงานจากต่างประเทศ

  23. การสร้างความเป็นประชาธิปไตยที่ถูกต้อง โปร่งใส - ความรู้ความเข้าใจ - ความศรัทธายึดมั่น - ความตระหนักและการมีส่วนร่วม สาเหตุ - ปัญหาจาการการเลือกตั้ง - ความขัดแย้งทางการเมืองและผลประโยชน์

  24. การสร้างความรู้ความเข้าใจ การประพฤติปฏิบัติที่แก้ไขปัญหานิสิตนักศึกษาในปัจจุบัน - ความรุนแรงในการรับน้องใหม่ - การแต่งกาย - การดื่มสุรา - การเล่นการพนัน

  25. สิ่งที่ต้องพัฒนา • การเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง • การเรียนรู้วิชาการวิชาชีพในเชิงปฏิบัติจริง • สร้างคุณลักษณะผู้ประกอบการ • ความสามารถทางภาษาและวัฒนธรรม • พหุวัฒนธรรมและสันติวิธีในการแก้ไขปัญหา • ค่านิยมไทย ประเพณีวัฒนธรรม • ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • สิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตย • จิตสำนึกด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม

  26. ลักษณะการเรียนรู้ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยในอนาคตลักษณะการเรียนรู้ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยในอนาคต

  27. แนวทางการพัฒนานักศึกษา (1) • ส่งเสริมกิจกรรมนอกหลักสูตร (Extra-Curriculum) • เพิ่มการเรียนรู้เยาวชนและนักศึกษาในรูปแบบทักษะชีวิต ทักษะสังคม (Socialization) • พัฒนาสมรรถนะพื้นฐานที่ข้ามพ้นวิชาการ (Based line competencies) • การสะสมความรู้ความสามารถเชิงวิชาการที่ฝังตัว(Tacit knowledge and ability) ในลักษณะค่ายการเรียนรู้ ค่ายอาสา หรือ โครงการ และกรรม เสริมหลักสูตร

  28. แนวทางการพัฒนานักศึกษา (2) • การบูรณาการกิจกรรมนอกหลักสูตรและชีวิตจริงเข้ากับหลักสูตร (Co-Curriculum) เพื่อเรียนรู้การทำงานในภาคการผลิตและภาคสังคม ในลักษณะ - Work Based Education – เช่น สหกิจศึกษา เป็นต้น - Community Based Education เช่น ค่ายเรียนรู้ร่วมกัน สร้างสรรค์ชุมชน เป็นต้น

  29. แนวทางการพัฒนานักศึกษา (3) • รณรงค์ส่งเสริมการปฏิบัติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเป็นต้นแบบ และ เผยแพร่ให้กับสังคม • จัดการพัฒนาจิตสำนึกความเป็นประชาธิปไตยที่ใสสะอาดถูกต้องและมีสำนึกรับผิดชอบต่อสังคม

  30. แนวทางการพัฒนานักศึกษา (4) • จัดทำโครงการเปิดโลกทัศน์และเตรียมความพร้อมนักศึกษาใน โลกาภิวัฒน์พัฒนาเรื่องพหุลักษณ์ พหุวัฒนธรรม (Multicultural) และสันติวิธี • เรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรม • การแลกเปลี่ยนนักศึกษา • การเพิ่ม Mobility ของนักศึกษา-อาจารย์ • การจัดหลักสูตรสองภาษา

  31. แนวทางการพัฒนานักศึกษา (5) • เน้นการเรียนการสอนกิจกรรมการพัฒนาที่เพิ่มพูนทักษะต่างๆ • การสื่อความ • การพัฒนาความเป็นผู้นำ • การแก้ปัญหา • การทำงานเป็นทีม • ความอดทน • คุณธรรม จริยธรรม

  32. แนวทางการพัฒนานักศึกษา (6) • มีหน่วยงานรับผิดชอบในส่วนกลาง สกอ.และมหาวิทยาลัยให้บริการแนะแนวอาชีพ • บริการแนะแนวอาชีพนักเรียนมัธยมและอาชีวศึกษา • แนะแนวอาชีพและการมีงานทำ (Career counseling) - ให้ข้อมูล - ให้คำปรึกษา - จัดนิทรรศการวิชาชีพให้ผู้ประกอบการและนักศึกษาแนะนำตัว ติดตามสัมฤทธิ์ ผลของานการพัฒนานักศึกษาอย่างเป็นระบบโดยการ สร้างตัวชี้วัดผลสำเร็จ (KPI) นักศึกษาและมีการติดตามประเมินผล

  33. การเรียนรู้ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยในอนาคตการเรียนรู้ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยในอนาคต

  34. http://pirun.ku.ac.th/~psdvcw/student01.ppt • 22-4-2556

  35. แนวทางใหม่ในการพัฒนานักศึกษาแนวทางใหม่ในการพัฒนานักศึกษา • โจทย์ของการพัฒนานักศึกษา • กรณีศึกษา การพัฒนานักศึกษาของมหาวิทยาลัยต่างๆ (ให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล เพื่อมานำเสนอ พร้อมข้อวิพากษ์ แล้วมารับข้อเสนอแนะจากอาจารย์) • คิดนอกกรอบกับการพัฒนานักศึกษา (ให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล มานำเสนอ แล้วมารับข้อเสนอแนะจากอาจารย์) หมายเหตุ 2 หัวข้อสุดท้ายที่ต้องสืบค้นและนำเสนอ ให้นำเสนอเวลา 14.00 น.

  36. โจทย์ของการพัฒนานักศึกษาโจทย์ของการพัฒนานักศึกษา • เป็นการนำสิ่งที่ต้องพัฒนามาคิดว่า จะมีแนวทางในการพัฒนานักศึกษาอย่างไร? แนวทางดังกล่าวมีความสอดคล้องหรือสามารถบรรลุผลได้จริงหรือไม่ อย่างไร? • จากผลของการพัฒนาตามแนวทางดังกล่าว จะประเด็นสิ่งที่ต้องพัฒนาและแนวทางการพัฒนานักศึกษาใหม่เพิ่มเติมหรือไม่ อย่างไร?

  37. สิ่งที่ต้องพัฒนา • การเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง • การเรียนรู้วิชาการวิชาชีพในเชิงปฏิบัติจริง • สร้างคุณลักษณะผู้ประกอบการ • ความสามารถทางภาษาและวัฒนธรรม • พหุวัฒนธรรมและสันติวิธีในการแก้ไขปัญหา • ค่านิยมไทย ประเพณีวัฒนธรรม • ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • สิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตย • จิตสำนึกด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม

  38. ให้คิดเพิ่มเติมว่า สิ่งที่ต้องพัฒนาใดสอดคล้องกับความสามารถ/ทักษะแต่ละอย่าง? และหากแยกเน้นการพัฒนาตามระดับชั้นปีควรพัฒนาทักษะใดในแต่ละชั้นปี? ลักษณะการเรียนรู้ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยในอนาคต • สิ่งที่ต้องพัฒนา • การเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง • การเรียนรู้วิชาการวิชาชีพในเชิงปฏิบัติจริง • สร้างคุณลักษณะผู้ประกอบการ • ความสามารถทางภาษาและวัฒนธรรม • พหุวัฒนธรรมและสันติวิธีในการแก้ไขปัญหา • ค่านิยมไทย ประเพณีวัฒนธรรม • ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • สิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตย • จิตสำนึกด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม

  39. แนวทางการพัฒนานักศึกษา (1) • ส่งเสริมกิจกรรมนอกหลักสูตร (Extra-Curriculum) • เพิ่มการเรียนรู้เยาวชนและนักศึกษาในรูปแบบทักษะชีวิต ทักษะสังคม (Socialization) • พัฒนาสมรรถนะพื้นฐานที่ข้ามพ้นวิชาการ (Based line competencies) • การสะสมความรู้ความสามารถเชิงวิชาการที่ฝังตัว(Tacit knowledge and ability) ในลักษณะค่ายการเรียนรู้ ค่ายอาสา หรือ โครงการ และกรรม เสริมหลักสูตร

  40. แนวทางการพัฒนานักศึกษา (2) • การบูรณาการกิจกรรมนอกหลักสูตรและชีวิตจริงเข้ากับหลักสูตร (Co-Curriculum) เพื่อเรียนรู้การทำงานในภาคการผลิตและภาคสังคม ในลักษณะ - Work Based Education – เช่น สหกิจศึกษา เป็นต้น - Community Based Education เช่น ค่ายเรียนรู้ร่วมกัน สร้างสรรค์ชุมชน เป็นต้น

  41. แนวทางการพัฒนานักศึกษา (3) • รณรงค์ส่งเสริมการปฏิบัติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเป็นต้นแบบ และ เผยแพร่ให้กับสังคม • จัดการพัฒนาจิตสำนึกความเป็นประชาธิปไตยที่ใสสะอาดถูกต้องและมีสำนึกรับผิดชอบต่อสังคม

  42. แนวทางการพัฒนานักศึกษา (4) • จัดทำโครงการเปิดโลกทัศน์และเตรียมความพร้อมนักศึกษาใน โลกาภิวัฒน์พัฒนาเรื่องพหุลักษณ์ พหุวัฒนธรรม (Multicultural) และสันติวิธี • เรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรม • การแลกเปลี่ยนนักศึกษา • การเพิ่ม Mobility ของนักศึกษา-อาจารย์ • การจัดหลักสูตรสองภาษา

  43. แนวทางการพัฒนานักศึกษา (5) • เน้นการเรียนการสอนกิจกรรมการพัฒนาที่เพิ่มพูนทักษะต่างๆ • การสื่อความ • การพัฒนาความเป็นผู้นำ • การแก้ปัญหา • การทำงานเป็นทีม • ความอดทน • คุณธรรม จริยธรรม

  44. แนวทางการพัฒนานักศึกษา (6) • มีหน่วยงานรับผิดชอบในส่วนกลาง สกอ.และมหาวิทยาลัยให้บริการแนะแนวอาชีพ • บริการแนะแนวอาชีพนักเรียนมัธยมและอาชีวศึกษา • แนะแนวอาชีพและการมีงานทำ (Career counseling) - ให้ข้อมูล - ให้คำปรึกษา - จัดนิทรรศการวิชาชีพให้ผู้ประกอบการและนักศึกษาแนะนำตัว ติดตามสัมฤทธิ์ ผลของานการพัฒนานักศึกษาอย่างเป็นระบบโดยการ สร้างตัวชี้วัดผลสำเร็จ (KPI) นักศึกษาและมีการติดตามประเมินผล

  45. ให้คิดเพิ่มเติมว่า สิ่งที่ต้องพัฒนาและแนวทางการพัฒนานักศึกษาสอดคล้องกันอย่างไร? โจทย์ของการพัฒนานักศึกษา สิ่งที่ต้องพัฒนา แนวทางการพัฒนานักศึกษา การเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง การเรียนรู้วิชาการวิชาชีพในเชิงปฏิบัติจริง สร้างคุณลักษณะผู้ประกอบการ ความสามารถทางภาษาและวัฒนธรรม พหุวัฒนธรรมและสันติวิธีในการแก้ไขปัญหา ค่านิยมไทย ประเพณีวัฒนธรรม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตย จิตสำนึกด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม เพิ่มการเรียนรู้เยาวชนและนักศึกษาในรูปแบบทักษะชีวิต ทักษะสังคม การพัฒนาที่เพิ่มพูนทักษะต่างๆ(การสื่อความ การพัฒนาความเป็นผู้นำ การแก้ปัญหา การทำงานเป็นทีม ความอดทน คุณธรรม จริยธรรม) พัฒนาสมรรถนะพื้นฐานที่ข้ามพ้นวิชาการ การสะสมความรู้ความสามารถเชิงวิชาการที่ฝังตัว เรียนรู้การทำงานในภาคการผลิตและภาคสังคม เรียนรู้พหุลักษณ์ พหุวัฒนธรรม และสันติวิธี ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและประชาธิปไตย การแนะแนวอาชีพและการทำงาน

  46. ให้คิดเพิ่มเติมว่า ควรมีประเด็นและแนวทางการพัฒนานักศึกษาเพิ่มเติมอย่างไร? โจทย์ของการพัฒนานักศึกษา สิ่งที่ต้องพัฒนา แนวทางการพัฒนานักศึกษา การเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง การเรียนรู้วิชาการวิชาชีพในเชิงปฏิบัติจริง สร้างคุณลักษณะผู้ประกอบการ ความสามารถทางภาษาและวัฒนธรรม พหุวัฒนธรรมและสันติวิธีในการแก้ไขปัญหา ค่านิยมไทย ประเพณีวัฒนธรรม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตย จิตสำนึกด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม เพิ่มการเรียนรู้เยาวชนและนักศึกษาในรูปแบบทักษะชีวิต ทักษะสังคม การพัฒนาที่เพิ่มพูนทักษะต่างๆ(การสื่อความ การพัฒนาความเป็นผู้นำ การแก้ปัญหา การทำงานเป็นทีม ความอดทน คุณธรรม จริยธรรม) พัฒนาสมรรถนะพื้นฐานที่ข้ามพ้นวิชาการ การสะสมความรู้ความสามารถเชิงวิชาการที่ฝังตัว เรียนรู้การทำงานในภาคการผลิตและภาคสังคม เรียนรู้พหุลักษณ์ พหุวัฒนธรรม และสันติวิธี ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและประชาธิปไตย การแนะแนวอาชีพและการทำงาน

  47. ให้คิดเพิ่มเติมว่า เห็นด้วยหรือไม่? และหากจะจัดกิจกรรมแยกระดับชั้นปีควรทำอย่างไร? การเรียนรู้ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยในอนาคต • แนวทางการพัฒนานักศึกษา • พัฒนาสมรรถนะพื้นฐานที่ข้ามพ้นวิชาการ • การสะสมความรู้ความสามารถเชิงวิชาการที่ฝังตัว • เรียนรู้การทำงานในภาคการผลิตและภาคสังคม • การแนะแนวอาชีพและการทำงาน • การพัฒนาที่เพิ่มพูนทักษะต่างๆ(การสื่อความ การพัฒนาความเป็นผู้นำ การแก้ปัญหา การทำงานเป็นทีม ความอดทน คุณธรรม จริยธรรม) • ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและประชาธิปไตย • เพิ่มการเรียนรู้เยาวชนและนักศึกษาในรูปแบบทักษะชีวิต ทักษะสังคม • เรียนรู้พหุลักษณ์ พหุวัฒนธรรม และสันติวิธี

  48. กรณีศึกษา การพัฒนานักศึกษาของมหาวิทยาลัยต่างๆ • ให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล เพื่อมานำเสนอ พร้อมข้อวิพากษ์ แล้วมารับข้อเสนอแนะจากอาจารย์ • ประเด็นการสืบค้นคือ มหาวิทยาลัยต่างๆ(ตัวอย่าง)มีการกำหนดอัตลักษณ์หรือลักษณะ(อาจจะเป็นจุดเน้นหรือลักษณะที่พึงประสงค์)อะไร อย่างไรบ้าง? และมีแนวทางในการพัฒนานักศึกษาในด้านต่างๆอย่างไร?

  49. คิดนอกกรอบกับการพัฒนานักศึกษาคิดนอกกรอบกับการพัฒนานักศึกษา • ให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล มานำเสนอ แล้วมารับข้อเสนอแนะจากอาจารย์ • ประเด็นการสืบค้น มีแนวทางในการพัฒนาในด้านต่างๆต่อไปนี้อย่างไร (ปัจจัยกำหนดการพัฒนาด้านนั้น และวิธีการพัฒนาด้านนั้นๆ สิ่งที่เคยทำ และสิ่งที่จะปรับทำใหม่) -การมีส่วนร่วม -การทำงานเป็นทีม -ความคิดสร้างสรรค์ -การคิดวิเคราะห์ และการแก้ปัญหาเป็น -ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม(การบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม) -คุณธรรมจริยธรรม -ความอดทน/เสียสละ -ทักษะการใช้ชีวิต -ทักษะทางสังคม -ทักษะทางวิชาชีพ/วิชาการ -การเตรียมพร้อมรองรับ AEC -จุดเด่น/อัตลักษณ์เฉพาะ -ทักษะทางภาษา -การใช้เทคโนโลยี -งบประมาณ/การทำโครงการ -ความเป็นผู้นำ/ผู้ตาม -การชนะการประกวด -กิจกรรมที่ได้ประโยชน์/สังคมอยากเห็น/ตรงความต้องการของผู้ทำกิจกรรม

More Related