1 / 67

ระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานคร นายสมพร หวังวงศ์วิโรจน์ รองผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล

ระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานคร นายสมพร หวังวงศ์วิโรจน์ รองผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล. จุดเริ่มต้นการพัฒนาระบบสารสนเทศ. แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2525 - 2529). เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บรายได้ นำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการตรวจสอบผู้ค้างชำระภาษี

akina
Download Presentation

ระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานคร นายสมพร หวังวงศ์วิโรจน์ รองผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานครระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานคร นายสมพร หวังวงศ์วิโรจน์ รองผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล

  2. จุดเริ่มต้นการพัฒนาระบบสารสนเทศจุดเริ่มต้นการพัฒนาระบบสารสนเทศ แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2525 - 2529) • เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บรายได้ • นำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการตรวจสอบผู้ค้างชำระภาษี • จัดพิมพ์ใบเตือนให้มาชำระภาษี

  3. ปลายแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2525 - 2529) ถึงต้นแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2530 - 2534) • กทม.ว่าจ้างสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ศึกษาความ เหมาะสมในการใช้เทคโนโลยีกับงานด้านต่าง ๆ • ผลการศึกษาของนิด้า แบ่งการพัฒนาระบบสารสนเทศเป็น 2 ส่วน • ระบบสารสนเทศส่วนกลาง (การคลัง บุคลากร ทรัพย์สิน) • ระบบสารสนเทศเฉพาะกิจ (สำนัก สำนักงานเขต)

  4. การพัฒนาสารสนเทศกรุงเทพมหานครการพัฒนาสารสนเทศกรุงเทพมหานคร การพัฒนาระบบสารสนเทศส่วนกลาง การพัฒนาระบบ สารสนเทศเฉพาะกิจ

  5. ระบบสารสนเทศส่วนกลาง ระบบข้อมูลและข่ายงานระบบคอมพิวเตอร์ของกรุงเทพมหานคร ( Management Information System : MIS)

  6. ระบบสารสนเทศส่วนกลาง • MIS1 • Centralized • Client - Server • จำนวน 9 ระบบงาน • เริ่มใช้งานตั้งแต่ 2537 • ถึงต้นปี 2548 • MIS2 • Multi-tier • Web Base • จำนวน 12 ระบบงาน • เริ่มใช้งานตั้งแต่ 2548 • เป็นต้นมา

  7. 7.ระบบงานบุคลากร 1. ระบบงานงบประมาณ 8. ระบบงานบัญชีทรัพย์สิน 2. ระบบงานรายได้ 9. ระบบงานเรื่องราวร้องทุกข์ 3. ระบบงานการเงิน 10. ระบบงานเงินเดือน 4. ระบบงานบัญชี 5. ระบบงานจัดซื้อ 11. ระบบงานบริหารคลังพัสดุกลาง 12. ระบบงานบริหารน้ำมันเชื้อเพลิง และหล่อลื่น 6. ระบบงานจัดจ้าง ระบบสารสนเทศส่วนกลาง

  8. การให้บริการ ประชาชนส่วนหน้า (Front Operation) ระบบสารสนเทศส่วนกลาง • ระบบงานเรื่องราวร้องทุกข์ • ระบบงานรายได้ • ระบบการเงิน ภาครับ • ระบบการบริหาร • ส่วนหลัง • (Back Office Operation) • ระบบงานงบประมาณ • ระบบงานบัญชี • ระบบงานจัดซื้อ/จัดจ้าง • ระบบการเงิน ภาคจ่าย • ระบบงานบริหารคลังวัสดุกลาง • ระบบงานบริหารน้ำมันฯ • ระบบงานบัญชีทรัพย์สิน • ระบบงานบุคลากร • ระบบงานเงินเดือน • ระบบข้อมูลสำหรับผู้บริหาร Interface บริการ ประชาชน

  9. ระบบสารสนเทศส่วนกลาง ระบบข้อมูลและข่ายงานระบบคอมพิวเตอร์ของกรุงเทพมหานคร ( Management Information System : MIS) ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ( BangkokGeographicInformation System : GIS )

  10. ระบบ GIS ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ได้นำมาใช้กับงานของ กทม. มาตั้งแต่ 2530 โดยเป็นโครงการนำร่องที่ร่วมกับ กฟน. กปน. และ ทศท. และได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องโดยได้จัดหา Base Map และพัฒนาข้อมูลพื้นฐานเพื่อให้หน่วยงานต่าง ๆ ของ กทม. ใช้งานร่วมกัน

  11. ชั้นข้อมูลที่จัดเก็บอ้างอิงแผนที่ฐานมาตราส่วน 1 : 1,000 Base map 1. เส้นทางคมนาคม 2. เส้นทางน้ำ 3. เขตการปกครองและพื้นที่การจัดการ 4. ที่ตั้งอาคารที่มีความสำคัญหรือเป็นจุดสนใจ Common Data 12 ชุด 85 ชั้นข้อมูล

  12. ชุดข้อมูล GIS Common Data 12 ชุด 85 ชั้นข้อมูล เขตการปกครอง การใช้ที่ดิน แหล่งพาณิชย์ หน่วยงานราชการและหน่วยงานสาธารณูปโภค สถาปัตยกรรม/วัฒนธรรม ด้านวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านการจราจรและขนส่ง การศึกษา ด้านสุขภาพ ด้านสวัสดิการและสังคม นโยบายผู้ว่าฯ

  13. ฐานข้อมูลรหัสประจำบ้าน (House-ID) เพื่อการเชื่อมโยงใช้ประโยชน์กับงานด้านต่าง ๆ ของ กทม. การจัดเก็บรายได้ สาธารณูปโภค และสาธารณูปการ TAG 100 101 102 ... ... ... อุบัติภัย,ร้องทุกข์ อนามัยและสิ่งแวดล้อม ข้อมูลภาษีโรงเรือนฯ HOUSEID ... 10011235635 10011266579 10015679233 … … ... ค่าธรรมเนียมขยะ HOUSEID ... 10011235635 10011266579 10015679233 … … ... TAG TAG HOUSEID 100 101 102 100 101 102 10011235635 10011266579 10015679233 ข้อมูลทะเบียนบ้าน ข้อมูลอาคาร HOUSEID ... 10011235635 10011266579 10015679233 … … ...

  14. โปรแกรมประยุกต์ระบบ GIS ของ กทม. • ฐานข้อมูลด้านการระบายน้ำ • ฐานข้อมูลสิ่งแวดล้อม • ฐานข้อมูลด้านสาธารณสุข • ระบบการจัดเก็บภาษี, • ระบบช่วยตรวจสอบหน่วยเลือกตั้ง • ระบบการจัดเก็บค่าธรรมเนียมขยะ • โปรแกรมระบบ DISTRICT CATALOGUE • GIS Web บน Internet ...ฯลฯ...

  15. Internet • เริ่มให้บริการตั้งแต่ พ.ศ. 2541 • ให้บริการผ่านระบบเครือข่ายหลักและเครือข่ายภายในของหน่วยงานราชการ กทม. 67 แห่ง • จำนวน users มากกว่า 30000 ราย • Dial up 600 คู่สาย • จ้างใช้บริการ ISP100 Mbps

  16. เว็บไซต์และการเผยแพร่ข้อมูลเว็บไซต์และการเผยแพร่ข้อมูล www .bma.go.th www .bangkok.go.th 

  17. โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อการเข้าถึงข้อมูล(Information Portal ) เป็นระบบจัดการข้อมูลกลางเพื่อเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนและนำเสนอข้อมูล ของสำนักและสำนักงานเขต รวมทั้งสามารถนำเสนอข้อมูลต่อประชาชน เพื่อเป็นเครื่องมือติดต่อสื่อสารระหว่างสำนักและสำนักงานเขต ในการนำเสนอข้อมูลต่อผู้บริหาร เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการใช้ระบบข้อมูลสมัยใหม่เพื่อเพิ่ม ศักยภาพให้กับสำนักและสำนักงานเขต

  18. ระบบหนังสือเวียนภายในองค์กรระบบหนังสือเวียนภายในองค์กร

  19. การพัฒนาสารสนเทศกรุงเทพมหานครการพัฒนาสารสนเทศกรุงเทพมหานคร การพัฒนาระบบสารสนเทศส่วนกลาง การพัฒนาระบบ สารสนเทศเฉพาะกิจ

  20. การพัฒนาสารสนเทศกรุงเทพมหานครการพัฒนาสารสนเทศกรุงเทพมหานคร การพัฒนาระบบ สารสนเทศเฉพาะกิจ • ระดับสำนักงานเขต • ระดับสำนัก

  21. ระดับ สำนักงานเขต การพัฒนาระบบสารสนเทศเฉพาะกิจ โครงการบริการทะเบียนราษฎร และบัตรประชาชน โครงการติดตั้งระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก50เขต

  22. ระบบงานสิ่งแวดล้อม และสุขาภิบาล ระบบงาน 50 สำนักงานเขต ระบบงานพัฒนาชุมชน และสวัสดิการสังคม ระบบงานรักษาความสะอาด และสวนสาธารณะ ระบบงานโยธา ระบบงานปกครอง ระบบงานการศึกษา ระบบงานเทศกิจ

  23. โครงการทะเบียนราษฎรและโครงการทะเบียนราษฎรและ บัตรประจำตัวประชาชน โครงการปรับปรุงระบบคอมพิวเตอร์ โครงการบริการทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน 2552 2538 เริ่มโครงการบริการทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน Bangkok Service Center Bangkok Express Service Bangkok Mobile Unit One Stop Service ฝ่ายทะเบียน

  24. โครงการทะเบียนราษฎรและโครงการทะเบียนราษฎรและ บัตรประจำตัวประชาชน เปิดบริการด้านทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ งบ 2538-2539 1 มกราคม 2539

  25. โครงการทะเบียนราษฎรและโครงการทะเบียนราษฎรและ บัตรประจำตัวประชาชน เปิดบริการทำบัตรประจำตัวประชาชน ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ งบ 2539 5 ธันวาคม 2539

  26. โครงการจัดเก็บเอกสารด้วยระบบคอมพิวเตอร์โครงการจัดเก็บเอกสารด้วยระบบคอมพิวเตอร์

  27. โครงการจัดเก็บเอกสารด้วยระบบคอมพิวเตอร์โครงการจัดเก็บเอกสารด้วยระบบคอมพิวเตอร์ • สถานที่จัดเก็บเอกสารไม่เพียงพอหรือไม่เหมาะสม • ไม่มีระบบทะเบียนคุมเอกสาร ยากในการค้นหา • มาตรฐานในการจัดเก็บและค้นหาแตกต่างกัน เกิดปัญหา ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนบุคลากร • ไม่มีข้อมูลเพื่อใช้ในการบริหารเอกสาร เช่น ประเภทเอกสาร สถานที่ชัดเจนของการจัดเก็บ วันทำลาย • ต้องใช้เวลานานในการค้นเอกสารที่ต้องการ • สถานที่ทำงานคับแคบ การถ่ายเทอากาศไม่ดี ส่งผลต่อสุขภาพของบุคลากร • เป็นอุปสรรคในภาพรวมต่อการพัฒนาประสิทธิภาพขององค์กร

  28. โครงการจัดเก็บเอกสารด้วยระบบคอมพิวเตอร์โครงการจัดเก็บเอกสารด้วยระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาระบบจัดเก็บเอกสารด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อความสะดวกในการเก็บ การค้นหา การเรียกใช้ ป้องกันการ สูญหาย หรือหาไม่พบ ทำให้สำนักงานมีพื้นที่ใช้สอยมากขึ้นเป็นระเบียบเรียบร้อยมากยิ่งขึ้น

  29. 100 Mbps

  30. ระบบเครือข่ายกรุงเทพมหานครระบบเครือข่ายกรุงเทพมหานคร กทม. 1 เสาชิงช้า กทม.2 ดินแดง 3 สำนักงาน 14 สำนัก สปภ. สพส. สนศ. ระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนกลาง 50 สำนักงานเขต 435 โรงเรียน 65 ศบส. MOI 9 รพ.

  31. VDO CONFERENCE ราชเทวี หลักสี่ มีนบุรี กรุงเทพมหานคร 1 MCU บางขุนเทียน เครือข่ายสื่อสารของ กทม. บางกอกใหญ่ คลองเตย กคพ. สยป. กรุงเทพมหานคร 2

  32. โครงการระบบรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานครโครงการระบบรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร

  33. ข้อเท็จจริงด้านความปลอดภัยระบบสารสนเทศข้อเท็จจริงด้านความปลอดภัยระบบสารสนเทศ • การโจมตีระบบขยายตัวอย่างรวดเร็ว และหลากหลายรูปแบบ • ระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายของ กทม. ถูกโจมตีเพิ่มมากขึ้น • ระบบป้องกันของ กทม. มีเพียง Firewall ที่ส่วนกลาง และ Antivirus บนเครื่องลูกข่าย (ไม่มีการ Update Virus Signature อย่างสม่ำเสมอ) • อัตรากำลัง และศักยภาพเจ้าหน้าที่ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ • มาตรการ และนโยบายด้านความปลอดภัยที่กำหนดไม่สามารถบังคับใช้ได้

  34. ทรัพยากรเสียหายใช้ได้ไม่เต็มประสิทธิภาพทรัพยากรเสียหายใช้ได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ • เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงาน • สูญเสียเวลา และบุคลากรในการดูแล • เสี่ยงต่อการสูญเสียข้อมูลที่มีค่า • กระทบต่อความสำเร็จของการลงทุนด้าน IT • การทุจริตนำข้อมูลไปใช้ในทางมิชอบ • ไม่สามารถควบคุม/ตรวจสอบ • ประสิทธิภาพในการบริหารลดลง • ภาพพจน์ขององค์กร • การสูญเสียโอกาสในการพัฒนาไปสู่ e-Government ผลกระทบต่อกรุงเทพมหานคร

  35. โครงการระบบรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานครโครงการระบบรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร • พัฒนาระบบรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศของ กทม. ที่ครอบคลุมระบบบนเครือข่ายหลัก ตามผลการศึกษา • ระบบตรวจสอบและป้องกันผู้บุกรุก (IDP) และ Firewall เขต • ระบบป้องกันไวรัส (Antivirus Gateway) • ระบบตรวจสอบยืนยัน (Certificate Authority :CA) • Hardening Server และอุปกรณ์เครือข่ายฯลฯ

  36. โครงการระบบรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศ ของกรุงเทพมหานคร ระยะที่ 2 • พัฒนาระบบรักษาความปลอดภัยเพิ่มเติม ตามผลการศึกษา • การวางนโยบาย และแนวทางปฏิบัติด้านความปลอดภัย • การวางมาตรฐาน และระบบการตรวจสอบ (Audit) • ระบบจำแนกบุคคลด้วย Smart Card • ระบบบริหารจัดการ Server และเครือข่ายด้านความ • ปลอดภัย พร้อมระบบสำรองเครือข่าย ฯลฯ

  37. การจัดการระบบองค์กรอัจฉริยะ (Business Intelligence: BI)กับระบบ BMAOC

  38. การใช้ประโยชน์จากข้อมูลในองค์กรการใช้ประโยชน์จากข้อมูลในองค์กร • ปัญหา • ข้อมูลภายในองค์กรมีจำนวนมากแต่ไม่เป็นปัจจุบัน • ข้อมูลอยู่กระจัดกระจายและต่างรูปแบบต่างมาตรฐานกัน • ข้อมูลไม่ได้ถูกแปลงให้เป็นสารสนเทศที่พร้อมใช้งาน • ข้อมูลดังกล่าวขาดความน่าเชื่อถือ • อุปสรรค • ผู้บริหารระดับสูงจนถึงพนักงานระดับล่างในสายงานต่าง ๆ ขาดสารสนเทศที่ช่วยการตัดสินใจในภารกิจต่าง ๆ ทำให้ประสิทธิภาพในการบริหารงานและการดำเนินการขององค์กรไม่ดีเท่าที่ควร

  39. Business Intelligence: BI • เป็นกระบวนการจัดรวบรวมข้อมูลจากส่วนต่าง ๆ ขององค์กรและแสดงในรูปแบบที่ง่ายต่อการเข้าถึงและรองรับมุมมองที่หลากหลาย • เป็นระบบที่ช่วยในการวิเคราะห์ และการตัดสินใจทางธุรกิจหรือองค์กรของผู้บริหาร • ระบบ BI สามารถเรียกดูข้อมูลที่เก็บไว้ในฐานข้อมูลขององค์กรและดึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ผู้ใช้งานต้องการมาแสดงในรูปแบบของรายงาน กราฟ โดยทั้งหมดจะผ่านการวิเคราะห์ด้วยวิธีการทางสถิติ และ/หรือ การหาความสัมพันธ์ของข้อมูล

  40. BI กับ กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีความพร้อมทั้งเรื่องของ IT Network และข้อมูลมากมายในระบบต่าง ๆ แต่จะเหลือก็เพียงแต่นำมาให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร โครงการ BAMOC เป็นโครงการที่พัฒนาเพื่อนำข้อมูลที่มีคุณค่าในระบบที่กระจัดกระจายตามหน่วยงานต่างๆ มาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการบริหารงาน โครงการ BMAOC เป็นเครื่องมือในการพัฒนากรุงเทพมหานครไปสู่ การจัดการองค์กรอัจฉริยะ หรือ BI

  41. รวบรวมสารสนเทศของ กทม. และหน่วยงานภายนอก สำหรับพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสำหรับผู้บริหาร (EIS) โครงการศูนย์ปฏิบัติการกรุงเทพมหานคร BMAOC • พัฒนาระบบติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนบริหารราชการ 2548-2551 ในทุกหน่วยงานของกทม. • Balance Scorecard : BSC • Health City (เมืองน่าอยู่) • Agenda Based Approach (แผนบริหารราชการ) • Function Based Approach (สำนัก) • Area Based Approach (สำนักงานเขต) เพื่อให้บริการข้อมูลแก่หน่วยงานภายในและภายนอก กทม. ในรูปแบบของ Web Service http://bmaoc.bangkok.go.th

  42. ภาพโดยรวมของระบบ

  43. 1555 ประชาชน

  44. สื่อที่รับ • โทรศัพท์ • SMS • MMS • จดหมาย • โทรสาร • เว็บไซด์ เพศ รายละเอียดผู้ร้องทุกข์ อาชีพ อายุ การศึกษา BEST เรื่องซ้ำ

  45. รายงานแสดงสถิตเรื่องฉุกเฉิน รายงานแสดงสถิติเรื่องร้องเรียนซ้ำ รายงานแสดงสถิติ และเปรียบเทียบการรับเรื่องร้องทุกข์ รายงานแสดงสถิติ และเปรียบเทียบการรับเรื่องร้องทุกข์ 10 อันดับแรก รายงานแสดงสถิติ และเปรียบเทียบการปฏิบัติงาน ตกลง รายงานแสดงสถิติ และเปรียบเทียบการปฏิบัติงานโดยหน่วยงาน Best รายงาน>รายงานแสดงสถิติเรื่องฉุกเฉิน

  46. รายงานแสดงสถิติเรื่องฉุกเฉิน รายงานแสดงสถิติเรื่องร้องเรียนซ้ำ รายงานแสดงสถิติ และเปรียบเทียบการรับเรื่องร้องทุกข์ รายงานแสดงสถิติ และเปรียบเทียบการรับเรื่องร้องทุกข์ 10 อันดับแรก รายงานแสดงสถิติ และเปรียบเทียบการปฏิบัติงาน ตกลง รายงานแสดงสถิติ และเปรียบเทียบการปฏิบัติงานโดยหน่วยงาน Best รายงาน>รายงานแสดงสถิติเรื่องฉุกเฉิน

More Related