1 / 57

การบริหารการเงินระหว่างประเทศ

การบริหารการเงินระหว่างประเทศ. 1) ระบบการเงินระหว่างประเทศ ( International Monetary System ) 2) ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราในประเทศไทย 3) ดุลการชำระเงิน ( Balance of Payments) 4) ตลาดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ( Foreign Exchange Market) 5) ทฤษฎี Interest Rate Parity (IRP)

akando
Download Presentation

การบริหารการเงินระหว่างประเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารการเงินระหว่างประเทศการบริหารการเงินระหว่างประเทศ 1) ระบบการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary System) 2) ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราในประเทศไทย 3) ดุลการชำระเงิน (Balance of Payments) 4) ตลาดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา (Foreign Exchange Market) 5) ทฤษฎี Interest Rate Parity (IRP) 6) การทำ Covered Interest Arbitrage

  2. International Monetary System 1.1 The Gold Standard (1876-1913) Industrial revolution in England and later in Europe bring in wealth. The rules of game is to declare par value. $ 20.67/ounce (1 ounce = 31.1034768 grams) £ 4.2474/ounce Each countries must maintain adequate reserve of gold to back its currency’s value. 1.2 The Inter-War Years (1914-1944) Inadequate of gold to back currency War interupts the free movement of gold. U.S.A, U.K. and France try to restore the gold standard in 1919, 1925 and 1928 but the new parity was never resolved.

  3. 1.3 Fixed Exchange Rates (1945-1973) A. The Bretton Woods Agreement (1944) (Dollar-Based System) Establish IMF and World Bank to assist member countries on monetary and structural trade problems. Announce the new par value (Adjustable Peg)$35/ounce Create a new type of reserve called “Special Drawing Rights (SDRs)” consisting of five major currencies: USD, JPY, DM, FF, GBP($1.35/SDR). SDRs can be exchanged onlyamong the Central Banks.

  4. มูลค่าของ SDRs ณ วันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 2010 * อัตราแลกเปลี่ยนแสดงเป็นเงินสกุลดอลลาร์ สรอ. ต่อเงินสกุลท้องถิ่น ยกเว้นเงิน สกุลเยนที่แสดงเป็นเยนต่อดอลลาร์ สรอ. ที่มา: Finance Department ; International Monetary Fund.

  5. โควตาและคะแนนเสียง (Vote) ของประเทศสมาชิก 12 อันดับแรกใน IMF * สถิติ ณ วันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 2010 ที่มา: www.imf.org

  6. B. The Crisis of 1971 (August) The U.S. ran persistent and growing deficits on BOP. Outflows of 1/3 of official gold reserve from U.S. Federal Reserve in 7 months. The U.S. suspend official purchases or sales of gold by the Treasury. Smithsonian Agreement depreciate U.S.$ to $38/ounce and allow it to move 2.25% C. Decision to Float (1973) Most currencies were allowed to float to levels determined by market forces. U.S.$ was attacked in February 1973 and depreciated to $42.22/ounce.

  7. ทิศทางการเคลื่อนไหวของค่าเงินสกุลดอลลาร์ สรอ. ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1973 ถึงปี ค.ศ. 2010 ดัชนี Sept 1985 Jan 2002 Jan 1973 Feb 1987 Jan 2009 Mar1976 ปี ค.ศ. หมายเหตุ:ดัชนีที่ใช้ในการแสดงแผนภาพข้างต้น คำนวณจากค่าเงินสกุลดอลลาร์ สรอ. เทียบกับสกุลเงินหลัก (Major Currencies) 7 สกุล ประกอบด้วย สกุลเงินยูโร ดอลลาร์แคนาดา เยนญี่ปุ่น ปอนด์อังกฤษ สวิสฟรังก์ ดอลลาร์ออสเตรเลีย และโครน สวีเดน โดยให้เดือนมีนาคม ค.ศ. 1973 เป็นฐานเริ่มต้นดัชนีเท่ากับ 100 ที่มา:กราฟดัชนีสร้างขึ้นจาก H.10: Foreign Exchange Rates, Federal Reserve Statistical Release, Federal Reserve Bank of New York. (www.federalreserve.gov/releases/h10/summary/)

  8. 2) ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราในประเทศไทย มี พรก. จัดตั้งทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา (Exchange Equalization Fund) ในปี 2498 ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย โดยมีฐานะเป็นนิติบุคคล และได้รับยกเว้น ภาษีอากร ตามประมวลรัษฎากร 2.1 วัตถุประสงค์ รักษาเสถียรภาพของระดับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ให้เหมาะสมกับเศรษฐกิจการเงินของประเทศ 1. ซื้อขายเงินตราต่างประเทศ (U.S. $) และทองคำกับธนาคารพาณิชย์ 2. จัดการลงทุนหาผลประโยชน์ของทุนรักษาระดับฯ ตั๋วเงินคลัง หลักทรัพย์ระยะสั้นของรัฐบาล หลักทรัพย์ระยะสั้นของต่างประเทศ 3. กู้ยืมเพื่อรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยนในกรณีฉุกเฉิน

  9. 2.2 ทุนดำเนินการ ได้รับโอนจากสินทรัพย์ทุนสำรองเงินตราส่วนที่เกินจำนวนธนบัตรที่ออกใช้ มูลค่าประมาณ 75.3 ล้าน U.S. $ หรือ 1,515 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม ในเดือนธันวาคม 2548 ที่ประชุมของทุนรักษาระดับฯ ซึ่งมี รมต. กระทรวงการคลัง เป็นประธาน ได้มีมติให้โอนงานของทุนรักษาระดับฯมาอยู่ภายใต้การดูแลของธนาคารแห่งประเทศไทย (ฝ่ายตรวจสอบและบริหารเงินทุนสำรอง: ฝตง)

  10. 2.3 การดำเนินงาน ระยะที่ 1ยังไม่กำหนดค่าเสมอภาค (2492-2506): เป็นสมาชิก IMF 2492 เนื่องจากฐานะการเงินของประเทศยังไม่มั่นคง และเงินทุนสำรองระหว่างประเทศยังไม่มากพอ จึงใช้อัตราทางการ ฿ 20/ U.S. $ ซึ่งไม่มีความสัมพันธ์ใดๆ กับอัตราแลกเปลี่ยนที่เป็นจริงในตลาด ระยะที่ 2ประกาศค่าเสมอภาค (2506-2521) ตุลาคม พ.ศ. 2506 ประกาศให้อัตราแลกเปลี่ยนเท่ากับ ฿ 20.80/U.S. $ โดยการเคลื่อนไหวต้องไม่เกิน 1% ของอัตราที่กำหนด ระหว่างปี 2515-2516 มีการปรับ Par Value หลายครั้ง เนื่องจากความผันผวนของเศรษฐกิจโลก (เงินสกุลหลักเริ่ม Float)

  11. ระยะที่ 3กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนประจำวัน (2521-2524) เลิก Par Value และเลิกผูกค่าเงินบาทไว้กับดอลลาร์ สรอ. สกุลเดียว โดยใช้ Basket of Currencies และการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนจาก Demand และ Supply ของแต่ละวัน กับธนาคารพาณิชย์ (Daily Fixing) ระยะที่ 4ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ (2524-2527) 15 กรกฎาคม 2524 ลดค่าเงินบาทจาก 21 เป็น 23 บาทต่อ U.S. $ เนื่องจากปัญหาการขาดดุลการชำระเงินอย่างหนักและต่อเนื่อง ทุนรักษาระดับฯ เป็นผู้กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนประจำวัน และเข้าแทรกแซง เพื่อพยุงค่าเงินบาทไว้ให้มีเสถียรภาพ กู้เงินแบบ Standby Credit จาก IMF ในวงเงิน 2,500 ล้านดอลลาร์ สรอ. เพื่อเสริมฐานะทุนสำรองระหว่างประเทศ

  12. ระยะที่ 5ระบบตะกร้าเงิน (2527- 1 ก.ค. 2540) ทุนรักษาระดับฯ เป็นผู้กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนประจำวัน โดยโยง ค่าเงินบาทไว้กับเงินสกุลสำคัญหลายสกุล (ณ วันที่ 5 พ.ย. 27 ค่าเงินบาท ได้ลดค่าลงจาก 23 เป็น 27 บาท ต่อ U.S. $ และให้เคลื่อนไหวได้ 2 สตางค์ต่อวัน) ใช้ค่าเฉลี่ยของเงินสกุลต่างๆ ที่เป็นคู่ค้าสำคัญของประเทศไทยที่อยู่ใน Basket มาสร้างเป็นดัชนีค่าเงินบาท เศรษฐกิจของประเทศฟื้นตัวอย่างรวดเร็วเนื่องจากการขยายตัวของ การส่งออก แต่หลังปี 2537 เงินดอลลาร์ สรอ. แข็งค่าขึ้น จึงกระทบการส่งออก ของไทย ทำให้ขาดดุลบัญชีเดินสะพัดมาก

  13. ระยะที่ 6ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว (2 ก.ค. 2540 - ปัจจุบัน) ต้นปี 2540 เงินบาทถูกโจมตีจากนักเก็งกำไร วันที่ 2 กรกฎาคม 2540 รัฐบาลจึงประกาศให้เงินบาทลอยตัวเมื่อเทียบกับเงินสกุลอื่น ค่าเงินบาทลดลงอย่างต่อเนื่อง และมีความผันผวนไปตามอุปสงค์ และอุปทานในแต่ละวัน ธนาคารแห่งประเทศไทย ทำหน้าที่ประกาศอัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยประจำวัน โดยยังไม่ได้เข้าแทรกแซงค่าเงินบาทในระยะแรก ต่อมาเมื่อประเทศมีทุนสำรองระหว่างประเทศเพิ่มมากขึ้น ธนาคารแห่งประเทศไทย จึงได้เข้าแทรกแซงค่าเงินบาทเป็นครั้งคราว จากวันที่ 23 พฤษภาคม 2543 ธนาคารแห่งประเทศไทยใช้การกำหนดเป้าหมายเงินเฟ้อ (Inflation Targeting) เป็นนโยบายหลัก

  14. 3) ดุลการชำระเงิน (Balance of Payments) • คือ การบันทึกรายการทางเศรษฐกิจและการเงินอย่างเป็นระบบ ระหว่างผู้มีถิ่นฐาน • ของประเทศหนึ่งกับผู้มีถิ่นฐานของประเทศอื่น ในรอบระยะเวลาหนึ่ง • ก. การแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจและการเงิน • (Economic and Financial Transactions) • การซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้า • การให้และการรับบริการ • การโอนกรรมสิทธิ์ทรัพย์สิน • การเปลี่ยนแปลงในทุนสำรองระหว่างประเทศ • ข. ผู้มีถิ่นฐาน (Resident) • ผู้พำนักอาศัย (เกิน 6 เดือน) หรือ ผู้ที่มีภูมิลำเนาเป็นการถาวรอยู่ในประเทศนั้น • ค. รอบระยะเวลา (A Unit Period) • โดยปรกติจัดทำเป็นรายปี

  15. 3.1 วัตถุประสงค์ของการจัดทำ BOPs • ใช้ในการพิจารณารายรับ รายจ่ายที่เป็นเงินตราต่างประเทศ และใช้ประกอบการกำหนดนโยบายการเงินและการคลังของประเทศ (Monetary & Fiscal Policies) • ก. นโยบายการเงิน:เพื่อปรับสมดุลของปริมาณเงิน (Money Supply) • การดำรงสินทรัพย์สภาพคล่อง / เงินฝาก 6% • การดำเนินการผ่านตลาดการเงิน (Open Market Operations: OMOs) • ธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตร • การออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย • การสว็อปอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (FX Swap) • หน้าต่างตั้งรับ (Standing Facilities) เพื่อปรับสภาพคล่อง ณ สิ้นวัน (End of Day Liquidity) ข. นโยบายการคลัง: บริหารรายรับและรายจ่ายของรัฐบาล • นโยบายการจัดเก็บภาษี • การใช้จ่ายภาครัฐ

  16. 1. Trade Flows 2. Financial Flows $ $ $ FX Dealer BOT M M ฿ ฿ $ ฿ ฿ M1 = Cash + Current Account M2 = M1 + Saving Deposit ผลกระทบของนโยบายการเงินที่มีต่อปริมาณเงิน (Money Supply) ในระบบเศรษฐกิจ

  17. M = D r ผลกระทบของการออมที่มีต่อปริมาณเงิน (Money Supply) ในระบบเศรษฐกิจ Definitions: M = Multiplier (Money Velocity) D = Initial Money (เงินออมใหม่) r = 6% Reserve (สำรองเป็นเงินสด)

  18. 3.2 ส่วนประกอบของ BOPs • 1. บัญชีเดินสะพัด (Current Account) • 1.1 ดุลการค้า (Trade Account) • คือ รายการสินค้านำเข้าและส่งออก • 1.2 ดุลบริการ (Service Account) • คือ รายการรับและให้บริการ • การขนส่ง • การท่องเที่ยว • การบริการของรัฐ • บริการอื่น 1.3 รายได้ (Income Account) คือ รายได้รับจากแรงงานและการลงทุน รายจ่ายเกี่ยวกับทุนและหนี้สิน 1.4 บัญชีเงินโอน (Current Transfers) คือ การให้เปล่า โดยภาครัฐและเอกชน

  19. 2. บัญชีเงินทุน (Capital and Financial Accounts) 2.1 เงินลงทุนโดยตรง (Direct Investment) 2.2 เงินลงทุนในหลักทรัพย์ (Portfolio Investment) คือ การลงทุนในตราสารทุน และตราสารหนี้ 2.3 เงินลงทุนประเภทอื่น (Other Investment) คือ รายการสินเชื่อทางการค้า เงินกู้ และบัญชีเงินฝากระหว่างประเทศ 3. บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ (International Reserve Account) คือ ส่วนต่างระหว่างยอดรวมทางด้านรายรับ และรายจ่ายเงินตราต่างประเทศของทั้งบัญชีเดินสะพัด และบัญชีเงินทุน

  20. 3.3 การบันทึกบัญชีดุลการชำระเงิน ก. ทางด้านเครดิต (Credits : + ) คือ รายการที่ได้รับ เงินตราต่างประเทศ เข้าประเทศ ข. ทางด้านเดบิต (Debits : - ) คือ รายการที่สูญเสีย เงินตราต่างประเทศ ออกจากประเทศ * ถ้ารายการทั้งบัญชีเดินสะพัดและบัญชีเงินทุนเป็น Credit ; รายรับ > รายจ่าย Reserve จะเป็น Debit ประเทศมีดุลการชำระเงินเกินดุลและทุนสำรองจะเพิ่มขึ้น * ถ้ารายการทั้งบัญชีเดินสะพัดและบัญชีเงินทุนเป็น Debit ; รายรับ < รายจ่าย Reserve จะเป็น Credit ประเทศมีดุลการชำระเงินขาดดุลและทุนสำรองจะลดลง

  21. 3.4 รายได้ประชาชาติ (National Income) National Income, the same meaning as Gross National Product (GNP),is the value of goods and services produced by all production resources and sold to the market within a period of time. NI = C + I + G + EX - IM when NI = National Income C = Private Consumption I = Private Investment G = Government Spending EX = Export of Goods and Services IM = Import of Goods and Services NI = GNP – Depre. + Cur. Transfers – Indir. Taxes GNP = GDP + Net Foreign Revenues GDP = Gross Domestic Product

  22. ดุลการชำระเงินของประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 2535-2552 หน่วย: ล้านบาท

  23. หน่วย: ล้านบาท ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

  24. แผนภาพ ดุลบัญชีเดินสะพัด ดุลบัญชีเงินทุน และดุลการชำระเงิน ของประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2535-2552 ดุลการชำระเงิน ดุลบัญชีเดินสะพัด ดุลบัญชีเงินทุน ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

  25. บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2552 หน่วย: ล้านดอลลาร์ สรอ. ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

  26. 3.5 ผลกระทบของดุลการชำระเงินต่อค่าเงินและการปรับตัว ก. ประเทศที่ใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ • จะต้องจัดการให้ดุลการชำระเงินมีสถานะสมดุล • จะเข้าแทรกแซงค่าเงินโดยเข้าซื้อหรือขายเงินตราต่างประเทศ ข. ประเทศที่ใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว • จะไม่กำหนดค่าเงินตายตัว • ความไม่สมดุลของดุลการชำระเงิน จะทำให้ค่าเงินสกุลท้องถิ่นเปลี่ยนแปลงและจะปรับตัวได้เอง ค. ประเทศที่ใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบจัดการ • จะใช้การปรับระดับอัตราดอกเบี้ยในประเทศ เพื่อให้ส่งผลกระทบต่อเงินทุนไหลเข้าหรือไหลออก เพื่อปรับสมดุลของดุลการชำระเงิน

  27. 4) ตลาดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (Foreign Exchange Market) ก. เป็นตัวกลางนำผู้ซื้อ (มีอุปสงค์) และผู้ขาย (มีอุปทาน) ที่ต้องการแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศมาพบกัน โดยผ่านเครือข่ายทางสื่ออิเลคทรอนิคส์ ข. ไม่มีที่ตั้งที่เฉพาะเจาะจง แต่กระจายอยู่ตามเมืองที่เป็นศูนย์กลางทางการเงิน ของโลก คือ โตเกียว ซิดนีย์ ฮ่องกง สิงคโปร์ บาร์เรนน์ แฟรงเฟริต ซูริค ลอนดอน นิวยอร์ค ชิคาโก โตรอนโต ลอสแองเจลีส

  28. 4.1 ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับตลาดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ก. ตัวกลางซื้อขายเงินตราต่างประเทศ (Foreign Exchange Dealers) มีรายได้เป็นส่วนต่าง (Spread) ระหว่างราคารับซื้อ (Bid) กับราคาเสนอขาย (Offer) ข. นายหน้าซื้อขายเงินตราต่างประเทศ (Foreign Exchange Brokers)มีรายได้เป็นค่านายหน้า (Commission) จากการให้บริการแก่ Dealers ค. บริษัทเอกชน (Corporations) ที่เป็นผู้นำเข้าและผู้ส่งออก และนักลงทุน ระหว่างประเทศ (International Investors) ง. นักเก็งกำไร (Speculators) และนักค้ากำไร (Arbitrageurs) จ. ธนาคารกลางของประเทศ (Central Bank)

  29. 4.2 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา การเมืองและ เสถียรภาพของประเทศ สภาวะเศรษฐกิจ จิตวิทยาตลาด ตลาดอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตรา ข่าวลือและ การเก็งกำไร อุปสงค์/อุปทาน นโยบายการเงิน และการคลัง

  30. 4.3 วิธีการเสนอราคาในตลาดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ก. การเสนอราคาโดยตรง (Direct Quotation) การเสนอราคาโดยตรง เป็นการเสนอราคาของเงินตราสกุลท้องถิ่น (Home Currency) ต่อหนึ่งหน่วยของเงินตราสกุลต่างประเทศ (Foreign Currency) เช่น ฿33.68/U.S. $, ฿46.26/ € (FX Dealer จะแสดงเป็น USD/THB = 33.68 และ EUR/THB = 46.26) ข. การเสนอราคาโดยอ้อม (Indirect Quotation) การเสนอราคาโดยอ้อม เป็นการเสนอราคาเงินตราสกุลต่างประเทศ (Foreign Currency) ต่อหนึ่งหน่วยของเงินตราสกุลท้องถิ่น (Home Currency) เช่น $0.0297/฿, €0.0216/฿ (FX Dealer จะแสดงเป็น THB/USD = 0.2970 และ THB/EUR = 0.2160)

  31. อัตราแลกเปลี่ยนข้ามสกุล (Cross Rate) ระหว่างเงินสกุลบาทและสกุลหลัก ณ วันที่ 20 เมษายน 2553 ที่มา: Bloomberg

  32. 4.4 ประเภทของธุรกรรมซื้อขายเงินตราต่างประเทศ 4.4.1 การทำธุรกรรมทันที (Spot Transaction) เป็นการตกลงซื้อขายเงินตราต่างประเทศ ที่มีกำหนดการส่งมอบ และการชำระเงินทันที ณ อัตราแลกเปลี่ยนที่ได้ตกลงกันในขณะนั้น

  33. อัตราแลกเปลี่ยนระหว่างเงินสกุลบาทและสกุลหลัก ณ วันที่ 20 เมษายน 2553 ที่มา: ธนาคารกสิกรไทย

  34. 4.4.2 การทำธุรกรรมล่วงหน้า (Forward Transaction) เป็นการตกลงซื้อขายเงินตราต่างประเทศ ณ เวลาปัจจุบันที่ราคาสำหรับการส่งมอบในวันข้างหน้าซึ่งเรียกว่า อัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า (Forward Rate) โดยที่การชำระเงินและการส่งมอบจะทำในวันที่ครบกำหนดสัญญา (Value Date) การคำนวณหาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า ใช้ทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยเสมอภาค (Interest Rate Parity: IRP) ซึ่งกล่าวไว้ว่า “เปอร์เซ็นต์ความแตกต่างของอัตราดอกเบี้ยระหว่างสองประเทศ จะเท่ากับเปอร์เซ็นต์ส่วนเพิ่มหรือส่วนลด (Forward Premium/ Discount) ของอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าของเงินตราสองสกุลนั้น แต่มีเครื่องหมายหรือทิศทางตรงกันข้ามเมื่อไม่พิจารณาต้นทุนการทำธุรกรรม” F (1 + i ฿) S (1 + i $) =

  35. อัตราดอกเบี้ยระหว่างธนาคารของเงินตราสกุลหลัก ณ วันที่ 7 พฤษภาคม 2553 ที่มา: ธนาคารกรุงไทย, ธนาคารแห่งประเทศไทย, และ Bloomberg

  36. อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ณ วันที่ 20 เมษายน 2553 ที่มา: ธนาคารกสิกรไทย

  37. ตัวอย่าง การคำนวณอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า (Forward Rate) BidOffer Spot (USD/THB) 32.03 32.28 Forward (6 Months) 6 (0.0096)6(0.0432) 32.087632.5392 Spot(JPY/THB) 34.9600 35.3400 Forward (3 Months)3(0.0108)3(0.0506) 34.992435.4918

  38. Interest yield Eurodollar yield curve 3.0 % 2.5 % Forward premium is the percentage difference of 1.0% 2.0 % Baht yield curve 1.5 % 1.0 % Days 30 60 90 120 150 180 แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Yield Curve และ Forward Premium

  39. 4.5 การทำธุรกรรมสว็อพ (FX Forward Swap) เป็นการตกลงซื้อและขาย (Buy/Sell) หรือขายและซื้อ (Sell/Buy) เงินตราสกุลต่างประเทศในเวลาเดียวกัน จำนวนเงินเท่ากัน แต่มีกำหนดการส่งมอบสำหรับการซื้อและขาย หรือการขายและซื้อ ในเวลาที่ต่างกัน โดยการทำธุรกรรมนี้จะทำผ่านตัวกลางค้าเงิน (Dealer) คนเดียวกัน

  40. 4.5.1Spot-Forward Swap เป็นการซื้อ (ขาย) เงินตราต่างประเทศที่อัตราแลกเปลี่ยนทันที (Spot Rate) ณ เวลานั้น และในเวลาเดียวกันก็ขาย (ซื้อ) เงินตราต่างประเทศจำนวนเดียวกันกลับไปยังตัวกลางค้าเงินคนเดิม โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า (Forward Rate) ในตลาดอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า t = 0 t = 3 เดือน ซื้อ $ 100,000 ขาย $ 100,000 ที่ Offer Rate ของ Spot Market ที่ Bid Rate ของ Forward Market

  41. 4.5.2 Forward-Forward Swap เป็นการซื้อ (ขาย) และขาย (ซื้อ) เงินตราต่างประเทศจำนวนเงินเท่ากันในตลาดอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า ที่ทำ ณ เวลาปัจจุบันสำหรับการส่งมอบในอนาคตที่ต่างเวลากัน และกับตัวกลางค้าเงินคนเดียวกัน โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าสำหรับวันที่ทำการส่งมอบ เพื่อการซื้อ (ขาย) และขาย (ซื้อ) นั้น t = 0 t = 3 เดือน t = 6 เดือน ซื้อ $ 100,000 ขาย $ 100,000 ที่ Offer Rate ของ ที่ Bid Rate ของ Forward 3 เดือน Forward 6 เดือน

  42. Using FX Swap to Rollover Forward Position • บริษัท A เป็นบริษัทส่งออกของไทย ซึ่งรอรับการชำระเงินจากลูกหนี้การค้าจำนวน USD 1.5 ล้าน ในวันที่ 21 กรกฏาคม บริษัทได้ป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนโดยทำสัญญาล่วงหน้า (Forward Contract) เพื่อขายเงินสกุลดอลลาร์ สรอ. ที่ราคา THB 33.50 ส่งมอบวันที่ 21 กรกฎาคม • วันที่ 19 กรกฎาคม บริษัท A ได้รับแจ้งจากลูกหนี้ว่า จำเป็นต้องเลื่อนการชำระเงินไปเป็นวันที่ 28 กรกฎาคม • วันที่ 21 กรกฏาคม Spot Rate USD/ THB เท่ากับ THB34.00 และ Forward USD มี ส่วนลด(Discount) 5 สตางค์ ต่อ 7 วัน เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยสกุลดอลลาร์ สรอ. สูงกว่าอัตราดอกเบี้ยสกุลบาท • บริษัท A จำเป็นต้อง Rollover สถานะของสัญญาล่วงหน้าด้วยการทำ Buy/Sell Swapจำนวน USD 1.5 ล้าน กับธนาคาร B โดย Buy Spot วันที่ 21 กรกฏาคม ราคา THB 34.00 แล้ว Sell Forward วันที่ 28 กรกฎาคม ราคา THB 33.95 • ณ วันที่ 21 กรกฏาคม บริษัท A จะต้องจ่ายชำระเงินให้ธนาคาร B เป็นจำนวนเงิน750,000 บาท (USD1.5 ล้าน @50 สตางค์ต่อ USD) เพื่อล้างสถานะของ Forward Contract ฉบับเดิม

  43. Using FX Swap to Rollover Forward Position 19 ก.ค. 21 ก.ค. 28 ก.ค. Sell F$ 1.5 m.@ ฿ 33.50 Buy S$ 1.5 m.@฿ 34.00Sell F$1.5 m.@33.95 FX Swap Pay ฿ 750,000 [=(34.0-33.5) X 1.5 m.] Receive ฿ 50.925 m. [=33.95 X 1.5 m.] Net Receipt = ฿ 50,925,000 - ฿ 750,000 = ฿ 50,175,000 [= THB33.45/USD]

  44. Due 0 3 6 9 12 การทำ Forward Swap ของธนาคารแห่งประเทศไทย หลังจาก Defend ค่าเงินบาทในปี 2540 มีภาระต้องส่งมอบเงินสกุล $ จำนวน $24,000 Million โดยใช้ Buy/Sell Swap C$ 1,000 S$ 23,000 F$ 23,000 C$ 1,000 S$ 22,000 F$ 22,000 C$ 2,000 S$ 20,000 F$ 20,000 C$ 3,000 S$ 17,000 F$ 17,000 ฿ 35/ $ ฿ 41/ $ ฿ 40/ $ ฿ 46/ $ ฿ 45/ $ ฿ 43/ $ ฿ 42/ $

  45. 4.6 บัญชีเงินฝากสกุลเงินตราต่างประเทศ Foreign Currency Deposit (FCD) ผู้นำเข้า และผู้ส่งออกที่มีทั้งรายรับ และรายจ่ายเป็นเงินตราสกุลต่างประเทศสามารถเปิดบัญชี FCD กับธนาคารพาณิชย์ได้ FCD A/C Inward USD Outward USD

  46. ระเบียบ FCD ของธนาคารแห่งประเทศไทย

  47. 4.7 รูปแบบของการเสนอราคาอัตราแลกเปลี่ยน ก. การเสนอราคาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าแบบ Points เป็นการเสนอราคาที่อยู่ในรูปของส่วนต่างระหว่างอัตราแลกเปลี่ยน ล่วงหน้าและอัตราแลกเปลี่ยนทันทีที่เรียกว่า พอยท์ (Points) หรืออัตราสว็อพ (Swap Rates) ซึ่งมักแสดงเป็นตัวเลขหลังจุดทิศนิยมที่จะต้องนำไปบวกหรือ หักออกจากราคาอัตราแลกเปลี่ยนทันทีแบบ Outright (ดูจากตารางตัวอย่างอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ณ วันที่ 20 เมษายน 2553)

  48. ข. การเสนอราคาแบบเปอร์เซ็นต์ส่วนเพิ่ม (Premium) หรือ ส่วนลด (Discount) • การเสนอราคาแบบเปอร์เซ็นต์ส่วนเพิ่มหรือส่วนลด เป็นการเสนอราคา สำหรับอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า ที่แสดงเป็นเปอร์เซ็นต์แตกต่างไปจาก อัตราแลกเปลี่ยนทันที • กรณีที่เป็นการเสนอราคาแบบโดยอ้อม % ส่วนเพิ่ม (ส่วนลด) ต่อปี = (Spot - Forward) * 360 * 100% Forward n • กรณีที่เป็นการเสนอราคาแบบโดยตรง % ส่วนเพิ่ม (ส่วนลด) ต่อปี = (Forward - Spot) * 360 * 100% Spot n

  49. 5) Interest Rate Parity (IRP) “The Difference in the National Interest Rates should be Equal to, but Opposite in Sign to, the Forward Rate Discount or Premium for the Foreign Currency, Except Transaction Costs” F 1 + if = S 1 + id Example: 1.4655 SF/$ 1.01 = = .9902 ~ 1% 1.4800 SF/$ 1.02

  50. 6) การค้ากำไรจากส่วนต่างของอัตราดอกเบี้ย (Covered Interest Arbitrage) “CIA is the Situation where Arbitrageur Takes Advantage of the Disequilibrium in Interest Rate Parity” Quotation: Spot Exchange Rate = ¥ 106/ $ 180-Day Forward Rate = ¥ 103.5/ $ Euroyen Market Rate = 4%/ Annum Eurodollar Market Rate = 8%/ Annum

More Related