1 / 22

ระบบการบริหารจังหวัด / กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ และ แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด / กลุ่มจังหวัด

ระบบการบริหารจังหวัด / กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ และ แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด / กลุ่มจังหวัด. แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด / กลุ่มจังหวัด. โดย รศ.ดร. ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการ ก.พ.ร. 10 เมษายน 2551. ร่าง พระ ราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ

airell
Download Presentation

ระบบการบริหารจังหวัด / กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ และ แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด / กลุ่มจังหวัด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบการบริหารจังหวัด / กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ และแนวทางการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด / กลุ่มจังหวัด แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด / กลุ่มจังหวัด โดย รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการ ก.พ.ร. 10 เมษายน 2551

  2. ร่าง พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. .... มาตรา 6 การบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการให้คำนึงถึงหลักการ ดังต่อไปนี้ (1) การบริหารราชการที่สอดคล้องกับแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญ นโยบายของรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ แผนพัฒนาประเทศด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด (2) การมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในจังหวัดในการเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันและแก้ไขปัญหาร่วมกันเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (3) การกระจายอำนาจการตัดสินใจลงไปสู่ระดับผู้ปฏิบัติ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและความรวดเร็วในการปฏิบัติราชการ ทั้งนี้ ให้ส่วนราชการมีหน้าที่สนับสนุนการปฏิบัติราชการของผู้ว่าราชการจังหวัด เพื่อให้การบริหารงานแบบบูรณาการในจังหวัดสามารถใช้อำนาจตามกฎหมายได้ครบถ้วนตามความจำเป็นและบริหารราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4) การสนับสนุนการกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพึ่งตนเองและตัดสินใจในกิจการของท้องถิ่นได้เอง เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน (5) การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ความโปร่งใสและการตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติราชการ

  3. Global Reach มหภาค กระแสโลกาภิวัตน์ การรวมกลุ่มภูมิภาค ผลประโยชน์ของชาติ การแข่งขันความร่วมมือ ภาคธุรกิจเอกชน วาระแห่งชาติ นโยบายรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด พันธมิตร รัฐธรรมนูญ ผู้ว่าราชการจังหวัด แบบบูรณาการ ชุมชน/ประชาชน การสนับสนุน ข้อเรียกร้อง/ ความต้องการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จุลภาค Local Link

  4. กลุ่มจังหวัด กลุ่มจังหวัด 18กลุ่ม ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2551 15. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน 16. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน 10. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 อุดรธานี หนองบัวลำภู หนองคาย เลย 11. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 มุกดาหารสกลนคร นครพนม 17 . กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 พิษณุโลก ตาก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์ 18 . กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2 นครสวรรค์ อุทัยธานี กำแพงเพชร พิจิตร 12. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ 13. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1 อุบลราชธานีอำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร 14. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ 1. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี สระบุรี 2. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท อ่างทอง 3. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ นครนายก สระแก้ว ปราจีนบุรี 4. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 ราชบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม กาญจนบุรี 5. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 2 เพชรบุรีประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร 9. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด 6. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย สุราษฎร์ธานี ชุมพรนครศรีธรรมราช พัทลุง 7. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน ระนอง ภูเก็ต พังงา กระบี่ ตรัง 8. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน ปัตตานี ยะลา นราธิวาสสงขลา สตูล

  5. Building Building Technology Clusters across USA

  6. Building Building Technology Clusters across ITALY

  7. Building Building Technology Clusters across Canada Source : National research Council Canada

  8. The The Greater Pearl River Delta Region Electronics Clusters : end products The Greater Pearl River Delta Region Electronics Clusters : inputs & components Source : Encyclopedia of the Nations

  9. The The Greater Pearl River Delta Region Electronics Clusters : inputs & components The Greater Pearl River Delta Region Electronics Clusters : inputs & components Source : Encyclopedia of the Nations

  10. ตัวอย่าง CHINA / MYNMAR LAOS INDIA / CHINA LAOS ท่องเที่ยว การค้าชายแดน การผลิตข้าวหอมมะลิ การประมง การผลิตอาหารฮาลาล LAOS MIDDLE EAST CAMBODIA MALAYSIA /SINGAPORE

  11. Template Template แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552ของจังหวัด / กลุ่มจังหวัด

  12. กรณีตัวอย่าง

  13. ตัวอย่าง ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก (ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด) ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก (ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด) ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก (ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด) ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก (ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด)

  14. วิสัยทัศน์ (Vision) ตัวอย่าง เป็นผู้นำการลงทุนด้านอุตสาหกรรม เป็นศูนย์กลางการผลิตและส่งออกผลไม้ ควบคู่ไปกับการเป็นดินแดนแห่งความหลากหลายของการท่องเที่ยวในระดับนานาชาติ

  15. Land of King and Queen of Fruit • Investment • ยานยนต์ชิ้นส่วน • ปิโตรเคมี/กลั่นน้ำมัน Border Trade ECS Travel Variety ยุทธศาสตร์เสริมสร้างความมั่งคั่งของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก ตัวอย่าง 2. การส่งเสริมและพัฒนามูลค่าเพิ่มในสินค้าเกษตร/ผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูป 4. การเสริมสร้าง ความเป็น หุ้นส่วนทาง เศรษฐกิจ ประตูสู่ภูมิภาค อินโดจีน 1. การพัฒนาสู่การเป็น ศูนย์กลางอุตสาหกรรม /พลังงานของอาเซียน ควบคู่กับการพัฒนา คุณภาพชีวิต ความเข้มแข็ง ของชุมชน สังคม และ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 3. การส่งเสริมการเป็นดินแดงแห่งความหลากหลายของการ ท่องเที่ยวแบบครบวงจรและเชื่อมโยงเส้นทางท่องเที่ยวใน กลุ่มจังหวัด/อนุภูมิภาคอื่น ๆ

  16. เป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวอย่าง อุตสาหกรรม • การเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมและพลังงาน • ของอาเซียนควบคู่ไปกับการพัฒนาที่ยั่งยืน เกษตรกรรม • การสร้างมูลค่าเพิ่มในสินค้าเกษตรและ • ผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูป การท่องเที่ยว • การเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวหลักของแต่ละจังหวัดกับ • แหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์ การค้าชายแดน • การเป็นพันธมิตรกับภูมิภาคอินโดจีน

  17. ตัวชี้วัดของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกตัวชี้วัดของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก ตัวอย่าง 1.ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการลงทุนด้านอุตสาหกรรมและ พลังงานต่อปี (เป้าหมายปี2548ร้อยละ15) 2.ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการท่องเที่ยว (เป้าหมายปี2548 ร้อยละ15) 3.ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการจำหน่ายสินค้าOTOP (เป้าหมายปี2548ร้อยละ35)

  18. เป้าหมายผลิตภัณฑ์มวลรวมของกลุ่มจังหวัด ในปี 2551 ตัวอย่าง ล้านบาท 1,400,000 150,000 - 200,000 1.1-1.2 ล้านล้าน 1,200,000 250,000 - 300,000 1,000,000 growth with strategy (2548-2551) 100%++ 150,000 - 200,000 800,000 natural growth (2548-51) 557,033 600,000 Add. GPP 2544-47 (Est) 557,033 400,000 200,000 0 (อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ7.8%) 2543p 2548-51 (Goals) - เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 เท่าตัวจากฐาน GPP ปี 2543 (หรือเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 10-12 ต่อปี)

  19. ยุทธศาสตร์ ตัวอย่าง เพิ่มผลผลิตและ พัฒนาคุณภาพข้าวเปลือก การพัฒนาและ แปรรูปข้าวหอมมะลิ การพัฒนาระบบตลาดข้าวหอมมะลิ วิจัยและ พัฒนา Value Chains การ พัฒนา คุณภาพ เพื่อ ส่งออก การ เพิ่มขีด ความ สามารถ ในการ แข่งขัน การ แปรรูป เพื่อเพิ่ม มูลค่า ส่งเสริม การผลิต และใช้ เมล็ดพันธุ์ดี วิจัย และ พัฒนา เทคโนโลยี การผลิต การ พัฒนา แปรสภาพ ข้าวสาร การ ตรวจสอบ มาตรฐาน GAP ศูนย์ กระจาย สินค้า การ จัดการ ระบบน้ำ การ ปรับปรุงดิน ยุทธศาสตร์ เกษตรอินทรีย์ :ข้าวหอมมะลิเพื่อการส่งออก โครงการพัฒนาระบบการจัดเก็บ และผลิตเมล็ดพันธุ์ โครงการจัดทำ แผนแม่บทการ พัฒนาแหล่งน้ำ โครงการพัฒนา Website รองรับ การจำหน่ายข้าวหอมมะลิ ผ่าน e-Commerce โครงการจัดตั้ง ศูนย์ข้อมูล ผู้ประกอบการ Missing link Missing link Missing link โครงการสร้าง ฐานข้อมูลและ ภูมิสารสนเทศ ด้านน้ำ โครงการสร้างฐานข้อมูล และระบบภูมิสารสนเทศ ข้าวหอมมะลิ Missing link โครงการจัดตั้ง เครือข่าย กลุ่มเกษตรกร GAP โครงการพัฒนาความรู้การปรับปรุง แปลงนาและ สร้างความสมบูรณ์ ของดิน โครงการศูนย์ข้อมูลการศึกษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเกษตรอินทรีย์ การวิเคราะห์ความเสี่ยง การแปลงยุทธศาสตร์

  20. คู่มือ การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติด้วยการบริหารโครงการ (จังหวัด) คู่มือ www.opdc.go.th / ศูนย์ความรู้ / คู่มือ / การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติด้วยการบริหารโครงการ (จังหวัด)

  21. แนวทาง การประเมินผลการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด แนวทาง แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด/ แผนพัฒนาจังหวัด ผลสัมฤทธิ์ในระดับภาพรวมและแยกตามรายประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ในระดับโครงการ (ตามคำของบประมาณประจำปีของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด)

  22. สำนัก สำนัก บริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด บทบาทของสำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด ภารกิจพัฒนายุทธศาสตร์ ภารกิจติดตามและประเมินผล ภารกิจสนับสนุนยุทธศาสตร์ • กำหนดทิศทาง การจัดทำ และดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด • สื่อสารและสร้างความเข้าใจกับบุคลากรเกี่ยวกับแผนพัฒนาฯ กลุ่มจังหวัด ทั้งภายใน และภายนอกกลุ่มจังหวัด (Communication Strategy) • รายงานผลสถานะทางการเงินและทรัพยากรทางการบริหารของกลุ่มจังหวัด • ส่งเสริม ประสานให้หน่วยงานต่าง ๆ ในกลุ่มจังหวัด เชื่อมโยงระบบบริหารงานบุคคลเข้ากับยุทธศาสตร์ • ส่งเสริม ประสานให้มีการจัดการความรู้ภายในกลุ่มจังหวัดให้สอดรับกับทิศทางการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ • จัดให้มีการประชุมเพื่อรายงานสรุปผลการปฏิบัติตามแผนพัฒนาฯ กลุ่มจังหวัด (Strategy Review) พัฒนา จัดการระบบการวัดผลการดำเนินงาน ติดตามตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของกลุ่มจังหวัดให้สอดคล้องตามยุทธศาสตร์ตลอดจนให้คำปรึกษากำหนดมาตรฐานการทำงาน และรายงานผลการดำเนินงาน Balanced Scorecard(Scorecard Mgt) ส่งเสริม ประสาน สนับสนุน ให้ความรู้ในเรื่องตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายการดำเนินการตามยุทธศาสตร์แก่ผู้ที่รับผิดชอบ และ/หรือผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด รวมทั้งหน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อนำไปสู่ผลสำเร็จตามยุทธศาสตร์ที่กำหนดไว้ วิเคราะห์สภาพความพร้อมของกลุ่มจังหวัดและทบทวนเพื่อกำหนดทิศทางการพัฒนา (Strategy Review & Development) สร้างกลไกดำเนินการสื่อสารและถ่ายทอดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายตามแผนพัฒนาฯ ไปยังผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ริเริ่มคิดค้นหรือพัฒนาเครื่องมือทางการบริหารเพื่อสนับสนุนการพัฒนากลุ่มจังหวัด เชื่อมโยงกลยุทธ์การดำเนินงานของหน่วยงานต่าง ๆ ในกลุ่มจังหวัด (ส่วนราชการ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/เอกชน) ให้ดำเนินงานไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อไปสู่การปฏิบัติที่เกิดผล (Alignment) เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดและจัดลำดับความสำคัญของแผนพัฒนาฯ กลุ่มจังหวัดที่มุ่งเน้น

More Related