1 / 137

การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ

การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ. ปลื้มฤดี ภู่โสภา. โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรอบแนวคิด.

aimon
Download Presentation

การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อการทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ ปลื้มฤดี ภู่โสภา โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  2. กรอบแนวคิด ศูนย์จ่ายกลางเป็นศูนย์กลางการจัดเตรียมวัสดุ และอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ตลอดจนผ้าก๊อสและสำลีต่าง ๆ สำหรับใช้ในโรงพยาบาล โดยเริ่มตั้งแต่การรับอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ที่ใช้งานแล้ว จากทุกหน่วยงานต่าง ๆ มาดำเนินการทำให้ปราศจากเชื้อตลอดการดูแลควบคุมการเบิกจ่ายเพื่อให้อุปกรณ์เครื่องมือมีเพียงพอและอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ

  3. ผังการไหลของงานจ่ายกลางผังการไหลของงานจ่ายกลาง

  4. Sterilization Process

  5. การทำให้ปราศจากเชื้อเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ในการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล

  6. ข้อมูลสถิติในสหรัฐอเมริกา/ปีข้อมูลสถิติในสหรัฐอเมริกา/ปี 5,000 โรงพยาบาล 1.1 จำนวนผู้ป่วยติดเชื้อ 1,200,000 ราย 1.2 จำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิตจากโรคติดเชื้อ 1,200 ราย 1.3 เกิดจากการทำให้ปราศจากเชื้อที่ผิดพลาด 10,000 - 100,000 ราย (1 - 10%) 1.4 การทำให้ปราศจากเชื้อที่ผิดพลาดส่งผลให้ผู้ป่วยเสียชีวิต 12 - 120 ราย

  7. ข้อมูลสถิติในสหรัฐอเมริกา/ปีข้อมูลสถิติในสหรัฐอเมริกา/ปี ค่าใช้จ่ายเชื้อใช้รักษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อในโรงพยาบาล ใช้เวลาในการดูแลผู้ป่วยเพิ่มขึ้น 8,676,000 วันต่อปี ค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้ป่วย 4,532,000,000 เหรียญสหรัฐ

  8. ข้อมูลสถิติในประเทศไทย/ปีข้อมูลสถิติในประเทศไทย/ปี อัตราการติดเชื้อ 7.3 % จำนวนคนไข้ติดเชื้อ/ปี 300,000 ราย จำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิต 30,000 ราย อยู่โรงพยาบาลนานขึ้น 5 - 7 วัน ค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้ป่วย 3,000 ล้านบาท

  9. Infection Control Programs โปรแกรมควบคุมการติดเชื้อ เครื่องมือไม่ปราศจากเชื้อ

  10. วงจรการติดเชื้อ

  11. การทำลายเชื้อ Disinfection การทำลายหรือหยุดยั้ง การเจริญของจุลชีพให้ลดลงถึงระดับ ที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่ไม่รวมถึง การทำลายสปอร์

  12. การทำลายเชื้อโดยน้ำยาทำลายเชื้อการทำลายเชื้อโดยน้ำยาทำลายเชื้อ น้ำยาทำลายเชื้อสูง High Level ได้แก่ Glutaraldehyde, Peracetic Acid ,chlorine dioxide,hydrogen peroxide ซึ่ง The U.S Environmental Protection Agency (EPA) ยอมรับว่าเป็นได้ทั้งน้ำยาทำให้ปราศจากเชื้อและทำลายเชื้อ น้ำยาทำลายเชื้อระดับกลาง Intermediate Level ได้แก่ Chlorine compounds, Alcohol(70 – 90 % ethanol หรือ isopropanol) phenolic และ iodophor น้ำยาทำลายเชื้อระดับต่ำ Low Level ได้แก่ Quarternary ammonium compounds, iodophors หรือ phenolic,Chlorthexidine

  13. การทำลายเชื้อระดับสูงการทำลายเชื้อระดับสูง ทำลายจุลชีพทุกรูปแบบ แต่ไม่สามารถทำลายสปอร์ได้หมด สัมผัสกับสารเคมีเป็นเวลา 6-10 ชั่วโมง STERILIZATION กลูตารัลดีไฮด์ (ความเข้มข้น) ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 6-30 % เพอร์อะซิติกแอซิด (Variable)

  14. การทำลายเชื้อระดับสูง (ต่อ) DISINFECTION • กลูตารัลดีไฮด์ (ความเข้มข้น) • ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 3-6 % • แอลกอฮอล์ 70 %

  15. การทำลายเชื้อระดับกลางการทำลายเชื้อระดับกลาง ทำลายเชื้อแบคทีเรีย, TB, รา และไวรัสเกือบทุกชนิด แต่ไม่ทำลายสปอร์ น้ำยาสารเคมีที่ทำลายเชื้อ TB (Tuberculocidal) ฟีนอลิค (Phenolic) สารประกอบคลอรีน (Chlorine Compounds) - คลอรอก, เวอร์กอน,ไฮเตอร์และไวรูเลก แอลกอฮอล์ 70 %

  16. การทำลายเชื้อระดับต่ำการทำลายเชื้อระดับต่ำ การทำลายเชื้อแบคทีเรียและเกือบทุกชนิด, ไวรัสบางชนิด, แต่ไม่สามารถฆ่า TB และสปอร์ของแบคทีเรีย Quaternary ammonium compounds (“Quats”) - Zephiran, Bactyl, Cetavlon, Savlon

  17. ปัจจัยที่มีผลต่อการทำลายเชื้อปัจจัยที่มีผลต่อการทำลายเชื้อ เชื้อโรค ชนิดของน้ำยา ความเข้มข้นของน้ำยา อายุ ความเป็นกรด - ด่าง การมีสารอื่นๆปนเปื้อน

  18. การแบ่งประเภทอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์การแบ่งประเภทอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ โดย Dr.Spaulding Critical - เครื่องมือที่แทงผ่านเส้นเลือดหรือเนื้อเยื่อที่ปราศจากเชื้อ Semicritical - เยื่อบุร่างกายหรือผิวหนังที่มีบาดแผล Noncritical - สัมผัสผิวหนังปกติภายนอก

  19. Critical Instruments ตัวอย่าง: เครื่องมือผ่าตัด (2 % glutaraldehyde) เข็ม (hydrogen peroxide) อวัยวะเทียม (high-level disinfectant) สายสวนหัวใจ (cidex) สายสวนปัสสาวะ (6 % stabilized hydrogen peroxide)

  20. Semicritical Instruments ตัวอย่าง อุปกรณ์เครื่องช่วยหายใจ (2 % glutaraldehyde) อุปกรณ์ดมยาสลบ (6 % stabilized hydrogen peroxide) กล้องส่องดูอวัยวะภายใน(6 % stabilized hydrogen peroxide)

  21. Non - critical Instrument หม้อนอน (Cresol) เครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องผ้า/ราวกั้นเตียง/ไม้ยันรักแร้/ภาชนะใส่อาหาร/โต๊ะข้างเตียง (น้ำและผงขัดล้าง) Stethoscopes (น้ำและผงขัดล้าง)

  22. การควบคุมการติดเชื้อ แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ ผู้เกี่ยวข้องกับผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่จ่ายกลางต้อง มีความรู้เกี่ยวกับการควบคุมการติดเชื้อ ป้องกันการปนเปื้อนเชื้อ(Dedontamination) การทำให้ปราศจากเชื้อ (Sterilization) การกำจัดหรือทำลายเชื้อ (Disnifection) สำหรับอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ทุกชนิด

  23. ศัลยแพทย์ชาวอังกฤษ ลอร์ด ลิสเตอร์ (Lord - Lister) เป็นคนแรกที่นำน้ำยาเจือจางของกรดคาร์บอริค ชื่อ ฟีนอล (Phenol) มาพ่นฆ่าเชื้อในห้องผ่าตัด ทำให้อัตราการติดเชื้อหลังผ่าตัดลดลงมาก ปัจจุบันมนุษย์ได้ทำการคิดค้น ศึกษา วิจัย ทดลองหาวิธีการทำลายเชื้อและป้องกันการติดเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น แต่ควรเลือกใช้ตามความเหมาะสม

  24. ผู้ป่วย เชื้อก่อโรค สิ่งแวดล้อม ซึ่งรวมถึงบุคลากร อุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ ยา หรือสารน้ำที่ผู้ป่วยได้รับ การติดเชื้อในโรงพยาบาลเกิดขึ้นเนื่องจากความไม่สมดุลขององค์ประกอบที่สำคัญ 3 องค์ประกอบคือ

  25. ความรู้ความเข้าใจของบุคลากรความรู้ความเข้าใจของบุคลากร เชื้อที่เป็นสาเหตุแหล่งโรค วิธีการแพร่กระจายของเชื้อ สิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการติดเชื้อ ข้อมูลต่างๆเหล่านี้สามารถกำหนดวิธีการหรือแนวทางในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อได้อย่างเหมาะสม มีประสิทธิภาพและประหยัดทรัพยากรในทุกๆด้าน การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อจะประสบความสำเร็จหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับ

  26. กำจัดเชื้อโรค ควรแยกผู้ป่วยภูมิคุ้มกันต่ำ รักษาสาเหตุที่ทำให้ภูมิคุ้มกันเสียไป สิ่งแวดล้อม อาคารสถานที่ต้องสะอาด แห้ง ไม่เป็นแหล่งสะสมเชื้อโรค มีการทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้ออย่างถูกต้อง กำจัดขยะมูลฝอยอย่างถูกต้อง น้ำดื่ม น้ำใช้ สะอาดได้มาตรฐาน มีการกำจัดน้ำเสีย มีการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้องเหมาะสม และมีนโยบายที่แน่นอนเพราะการใช้ยาต้านจุลชีพเกินความจำเป็นจะทำให้แบคทีเรียดื้อยา มีการเผ้าระวังโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล หลักการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ

  27. STERILIZATION คำจำกัดความ การทำให้ปราศจากเชื้อ เป็นการกำจัดหรือทำลายจุลชีพทุกรูปแบบรวมทั้งสปอร์ของแบคทีเรียจากเครื่องมือทางการแพทย์

  28. คำจำกัดความ ปราศจากเชื้อ หรือปลอดเชื้อ STERILE

  29. STERILE ไม่สามารถมองเห็นว่า ปราศจากเชื้อได้ด้วยตาเปล่า

  30. เครื่องมือที่จะต้องผ่านเข้าสู่ส่วนของร่างกายที่ปราศจากเชื้อได้แก่เครื่องมือที่จะต้องผ่านเข้าสู่ส่วนของร่างกายที่ปราศจากเชื้อได้แก่ กระแสโลหิต เนื้อเยื่อ เช่น เครื่องมือผ่าตัด เข็มฉีดยา สารน้ำที่ใช้ฉีดเข้าเส้น อุปกรณ์ที่ใช้ในการวินิจฉัยโรคซึ่งต้องสัมผัสกับเยื่อบุของร่างกายในระบบทางเดินปัสสาวะหรือช่องท้อง เครื่องมือเหล่านี้จะต้องได้รับการทำให้ปราศจากเชื้อ

  31. อาหารเลี้ยงเชื้อ อุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ในห้องปฏิบัติการที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อรวมทั้งการวิจัยต้องผ่านกระบวนการทำให้ปราศจากเชื้อ ภายหลังใช้แล้วก่อนนำไปทิ้งหรือล้างทำความสะอาด

  32. วิธีการทำให้ปราศจากเชื้อวิธีการทำให้ปราศจากเชื้อ Sterilization Physical method Chemical method Heat Ionizing radiation Gas Chemosterilant • EO • Formaldehyde • - Hydrogen peroxide plasma • EO + Co2 • 2 % Glutaraldehyde • 6 % Hydrogen peroxide • - Peracetic acid • Incineration • Dry heat • Boiling • Steam • X-rays • Gamma (gamma rays) • UV

  33. วิธีทางกายภาพ 1.การใช้ความร้อนเป็นวิธีที่ปฏิบัติได้ง่ายและมีประสิทธิภาพสูงสุด เช่น การเผา การใช้ความร้อนแห้ง การต้ม การนึ่งด้วยไอน้ำภายใต้ความดัน - การเผา ใช้ในการทำลายอุปกรณ์ที่ไม่นำมาใช้อีกต่อไปหรืออุปกรณ์ที่ปนเปื้อนมากไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ วิธีนี้เชื่อถือได้ดีที่สุดแต่ใช้เฉพาะบางกรณีเท่านั้น

  34. วิธีทางกายภาพ (ต่อ) - การใช้ความร้อนแห้ง วิธีนี้อุณหภูมิสูง 160-170 องศาเซลเซียส เวลา 1- 2 ชั่วโมง เหมาะสำหรับเครื่องแก้ว โลหะ - การต้ม ต้มในน้ำเดือด 100 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที สามารถทำลายเชื้อแบคทีเรียได้ทุกชนิดและไวรัสเกือบทุกชนิด แต่สปอร์ของเชื้อแบคทีเรียทนต่อการต้มเป็นเวลานานได้ จึงไม่ใช่วิธีการทำให้ปราศจากเชื้อที่เชื่อถือได้แน่นอน - การใช้ความร้อนชื้น การนึ่งไอน้ำภายใต้ความดัน

  35. วิธีทางกายภาพ (ต่อ) 2. การใช้รังสีการใช้รังสีคลื่นสั้นในการทำให้ปราศจากเชื้อเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพ - รังสีเอ็กซ์ (X-rays) - รังสีแกมมา (gamma rays) ใช้ในอุตสาหกรรม ซึ่งได้จาการสลายตัวของสารกัมมันตภาพรังสี เช่น โคบอลท์ - รังสีอุลตราไวโอเลต (Ultraviolet light :UV )ทำลายเชื้อแบคทีเรียได้หลายชนิด แต่การแทรกซึมเข้าสู่อุปกรณ์ไม่ดี แต่ช่วยลดจำนวนเชื้อก่อโรคที่มีอยู่ในอากาศ ในห้องผ่าตัด หอทารกแรกเกิด หอผู้ป่วยโรคติดต่อและห้องจุลชีววิทยา

  36. วิธีทางเคมี • เป็นการทำให้เครื่องมือที่ทนความร้อนสูงไม่ได้ ให้ปราศจากเชื้อโดยใช้อุณหภูมิต่ำ โดยใช้แก๊ส • Ethylene Oxide (ETO 100 %,ผสม คาร์บอนไดออกไซค์ : Fumigas 10 -30)ใช้อุณหภูมิ 49-60 องศาเซลเซียส เวลา 3-6 ชั่วโมง • Formaldehydeใช้อุณหภูมิ 70-75 องศาเซลเซียส

  37. วิธีทางเคมี(ต่อ) • Hydrogen peroxide (Plasma)ใช้เวลา 1 ชั่วโมง • Peracetic acidเป็นสารเคมีซึ่งเกิดจากการผสมรวมกันของกรด acetic,hydrogen peroxide และน้ำ ทำลายเชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย และสปอร์ได้เร็ว peracetic acid มีฤทธิ์กัดกร่อนสูง การใช้ buffer 35 % peracetic acid เจือจางให้มีความเข้มข้น 0.2 % ใส่น้ำยาในภาชนะที่มีลักษณะเป็นระบบปิด อุณหภูมิประมาณ 51-56 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 20-30 นาที

  38. วิธีทางเคมี(ต่อ) 5. Glutaraldehydeมีความเข้มข้น 2 % มีฤทธิ์เป็นกรด (pH 4) ผสมด้วย activator ซึ่งอาจเป็นของเหลวหรือเป็นผง เพื่อทำให้อยู่ในภาวะด่าง (pH 7.5 -8.5) ทำลายเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา เชื้อไวรัสได้ภายใน 30 นาที การแช่อุปกรณ์ในน้ำยานี้นาน 6-10 ชั่วโมง สามารถทำลายสปอร์ของเชื้อแบคทีเรียได้

  39. การทำงานของ Stream Sterilizer แบ่งเป็น 3 สภาวะดังต่อไปนี้ 1. สภาวะการเพิ่มอุณหภูมิ/ความดัน (Come up time หรือ Pretreatment) 2. การทำให้ปราศจากเชื้อ (Sterilization หรือ Exposure time) 3. การอบแห้ง (Drying หรือ Postreatment)

  40. ปัจจัยที่มีผลต่อการทำให้ปราศจากเชื้อด้วยไอน้ำปัจจัยที่มีผลต่อการทำให้ปราศจากเชื้อด้วยไอน้ำ ไอน้ำอิ่มตัว (Saturated Stream) เวลา อุณหภูมิ

  41. ปัจจัยที่มีผลต่อการทำให้ปราศจากเชื้อด้วย Stream อากาศต้องถูกกำจัดออกจากช่องอบและภายในหีบห่อ

  42. ความสัมพันธ์ระหว่างอุณภูมิและความดันความสัมพันธ์ระหว่างอุณภูมิและความดัน อุณหภูมิ C ความดัน (PSIG) -121 15 -126 20 -132 27 -134 30

  43. ไล่อากาศออกไม่หมดมีผลต่อ?ไล่อากาศออกไม่หมดมีผลต่อ? อุณหภูมิไม่ถึงตามระดับที่กำหนด การทำให้ปราศจากเชื้อไม่มีประสิทธิภาพ

  44. Gravity Displacement Cycle

  45. Prevacuum

  46. Prevacuum

  47. Gravity Displacement Cycle

  48. Prevacuum

  49. ระยะเวลาในการทำให้ปราศจากเชื้อ(Exposure Time หรือ Sterilization Time) ขึ้นกับอุณหภูมิเครื่องและประเภทของห่ออุปกรณ์ Gravity 121 - 123 C ระยะเวลา 15 - 30 นาที Prevacuum 132 - 135 C ระยะเวลา 3 - 4 นาที

  50. ความร้อนแห้ง Dry Heat ไอร้อนแทรกซึมผ่านได้น้อยกว่าไอน้ำ (Stream) ดังนั้นใช้เวลาในการอบฆ่าเชื้อนานกว่า อุณหภูมิ ( C) เวลา (ชม.) 170 1 160 2

More Related