1 / 14

สำนักกำกับกิจการขนส่งทางอากาศกับ การกำกับดูแลกิจการการบิน พลเรือน

สำนักกำกับกิจการขนส่งทางอากาศกับ การกำกับดูแลกิจการการบิน พลเรือน. โครงสร้างของสำนักกำกับกิจการขนส่งทางอากาศ. สำนักกำกับกิจการขนส่งทางอากาศ( สกข. ) แบ่งออกเป็น 5 กลุ่มงาน และ 1 ฝ่าย กล่าวคือ กลุ่มการเดินอากาศภายในประเทศ กลุ่มการเดินอากาศระหว่างประเทศ กลุ่มความตกลงและเจรจาสิทธิการบิน

ailis
Download Presentation

สำนักกำกับกิจการขนส่งทางอากาศกับ การกำกับดูแลกิจการการบิน พลเรือน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักกำกับกิจการขนส่งทางอากาศกับการกำกับดูแลกิจการการบินพลเรือนสำนักกำกับกิจการขนส่งทางอากาศกับการกำกับดูแลกิจการการบินพลเรือน

  2. โครงสร้างของสำนักกำกับกิจการขนส่งทางอากาศโครงสร้างของสำนักกำกับกิจการขนส่งทางอากาศ สำนักกำกับกิจการขนส่งทางอากาศ(สกข.) แบ่งออกเป็น 5 กลุ่มงาน และ 1 ฝ่าย กล่าวคือ • กลุ่มการเดินอากาศภายในประเทศ • กลุ่มการเดินอากาศระหว่างประเทศ • กลุ่มความตกลงและเจรจาสิทธิการบิน • กลุ่มการจัดสรรเส้นทางบินและสิทธิการบิน • กลุ่มตรวจการขนส่งทางอากาศ

  3. อำนาจหน้าที่ของสำนักฯอำนาจหน้าที่ของสำนักฯ • ดำเนินการจัดสรรสิทธิการบินและการอนุญาตการบินให้แก่สายการบินของไทยและต่างประเทศรวมทั้งอากาศยานพลเรือน อื่นๆ เช่น อากาศยานส่วนบุคคล • ประสานงานกับองค์การและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการบินพลเรือนทั้งในประเทศและระหว่างประเทศในการเจรจาทำความตกลงด้านสิทธิการบิน • เสนอให้มีการกำหนดกฎเกณฑ์ด้านการประกอบกิจการค้าขายในการเดินอากาศและการใช้อากาศยานส่วนบุคคล • กำกับดูแล และตรวจสอบการดำเนินการของสายการบินและอากาศยานส่วนบุคคลให้เป็นไปตามกฎหมาย อนุสัญญา ความตกลง กฎ ระเบียบ และข้อบังคับเกี่ยวกับการบินพลเรือน • เสนอการกำหนดกฎเกณฑ์และกำกับดูแลการจัดเก็บค่าโดยสารและค่าระวางของอากาศยานขนส่ง • ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย

  4. 1. กลุ่มการเดินอากาศภายในประเทศ • งานประกอบกิจการค้าขายในการเดินอากาศและพิกัดอัตราค่าขนส่ง • พิจารณาคำขออนุญาตประกอบกิจการค้าขาย/ขอต่ออายุ/ขอปรับปรุงใบอนุญาตของผู้ประกอบการไทยที่ทำการบินทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ พิจารณาดำเนินการคำขออนุญาตทำการบินของบริษัทการบินต่าง ๆ เสนอแนะหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบกิจการค้าขายฯ รวมทั้งวิเคราะห์และนำเสนอการขอใช้/ปรับปรุงอัตราค่าขนส่งทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ • งานกิจกรรมการบินทั่วไป • พิจารณาคำขอมีและใช้/ต่ออาบุใบอนุญาตอากาศยานส่วนบุคคล(ปีกแข็ง เฮลิคอปเตอร์ อากาศยานเบาพิเศษ) รวมทั้งขออนุญาตทำการบิน

  5. กฎหมายที่เกี่ยวข้องในการกำกับดูแลของกลุ่มการเดินอากาศภายในประเทศกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการกำกับดูแลของกลุ่มการเดินอากาศภายในประเทศ • งานประกอบกิจการค้าขายในการเดินอากาศ • ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 58 ลงวันที่ 26 ม.ค. 2515 • ประกาศกรมการขนส่งทางอากาศ เรื่อง คุณสมบัติและหลักเกณฑ์การพิจารณาคำขออนุญาตประกอบกิจการค้าขายฯ • พรบ. การเดินอากาศ พ.ศ. 2497 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 11มาตรา 20 ( อัตราค่าขนส่ง) มาตรา 27 และ 28 (การทำการบินของอากาศยาน) • งานกิจกรรมการบินทั่วไป • พรบ. การเดินอากาศ พ.ศ. 2497 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 11มาตรา 29 ทวิ มาตรา 27 และ 28 (การทำการบินของอากาศยาน) และ ข้อบังคับคณะกรรมการการบินพลเรือนฉบับที่ 43

  6. 2. กลุ่มการเดินอากาศระหว่างประเทศ • งานเดินอากาศประจำ • พิจารณาคำขอทำการบินทั้งแบบประจำและไม่ประจำระหว่างประเทศ(ผู้ดำเนินการทั้งไทยและต่างประเทศ) จัดสรรเวลาทำการบิน(Slot Allocation) เสนอให้มีการกำหนดกฎเกณฑ์ วิธีปฏิบัติในการขอทำการบินระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ความเห็นต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเข้ามาพำนักและปฏิบัติหน้าที่ให้กับสายการบินในประเทศไทย • งานเดินอากาศไม่ประจำ • พิจารณาคำขออนุญาตทำการบินแบบไม่ประจำของสายการบินและอากาศยานส่วนบุคคลต่างประเทศ

  7. กฎหมายที่เกี่ยวข้องในการกำกับดูแลของกลุ่มการเดินอากาศระหว่างประเทศกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการกำกับดูแลของกลุ่มการเดินอากาศระหว่างประเทศ • พรบ. การเดินอากาศ พ.ศ. 2497 แก้ไขถึงฉบับที่ 11 มาตรา 28 (การทำการบินของอากาศยาน) • อนุสัญญาชิคาโก • ความตกลงทวิภาคีระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่าง ๆ

  8. 3. กลุ่มความตกลงและเจรจาสิทธิการบิน • งานทวิภาคีในภูมิภาค • งานทวิภาคีต่างภูมิภาค • งานความตกลงพหุภาคี • ศึกษาวิเคราะห์ จัดทำ ปรับปรุงความตกลงว่าด้วยบริการเดินอากาศระหว่างประเทศ จัดการประชุมคณะกรรมการผู้แทนรัฐบาล ศึกษาติดตามนโยบายด้านสิทธิการบินของประเทศ ต่างๆ เพื่อเสนอปรับปรุงแนวทางการเจรจาสิทธิการบิน • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ความตกลงว่าด้วยบริการเดินอากาศระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่าง ๆ

  9. 4. กลุ่มการจัดสรรเส้นทางบินและสิทธิการบิน • งานจัดสรรเส้นทางบินภายในประเทศ • งานจัดสรรเส้นทางบินระหว่างประเทศ • ศึกษา วิเคราะห์ และนำเสนอเรื่องเกี่ยวกับการจัดสรรเส้นทางบินทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศของผู้ประกอบการไทย • เสนอแนะการกำหนดกฎเกณฑ์ วิธีปฏิบัติ ในการจัดสรรเส้นทางบินและสิทธิการบิน • ติดตามตรวจสอบการใช้สิทธิการบินทั้งเส้นทางบินภายในประเทศและระหว่างประเทศ รวมทั้งคำขอเปิดเส้นทางบินและหยุดบินในประเทศ • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ประกาศกรมการบินพลเรือน เรื่องหลักเกณฑ์การ จัดสรรเส้นทางบิน

  10. 5. กลุ่มตรวจการขนส่งทางอากาศ • งานตรวจการเดินอากาศ • งานคุ้มครองสิทธิผู้เดินทางทางอากาศ • ศึกษากฎระเบียบทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศว่าด้วยการตรวจการขนส่งทางอากาศ • เสนอให้มีการกำหนดกฎเกณฑ์ วิธีปฏิบัติในการตรวจการขนส่งทางอากาศ • ตรวจสอบและติดตามการดำเนินการของผู้ประกอบการให้ปฏิบัติตามกฎหมาย ความตกลง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับการบินพลเรือน รวมทั้งเงื่อนไขการอนุญาต

  11. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการตรวจการขนส่งทางอากาศกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการตรวจการขนส่งทางอากาศ • พรบ. การเดินอากาศ พ.ศ. 2497 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 11 • เงื่อนไขประกอบใบอนุญาตให้ประกอบกิจการค้าขายในการเดินอากาศ • ประกาศคุ้มครองสิทธิผู้โดยสารเดินทางภายในประเทศ และผู้โดยสารเดินทางโดยเที่ยวบินเช่าเหมาลำ • เงื่อนไขอนุญาตต่าง ๆ ที่ทางราชการกำหนด • กฎ ระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

  12. ข้อมูลการอนุญาตสายการบินของไทยข้อมูลการอนุญาตสายการบินของไทย • บริษัทการบินของไทยที่ได้รับอนุญาต และทำการบิน • บริษัทที่ได้รับอนุญาตให้ทำการบินแบบประจำและไม่ประจำทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศรวม 26 บริษัท ทำการบินแล้ว 12 บริษัท • บริษัทที่ได้รับอนุญาตให้ทำการบินแบบไม่ประจำรวม 15 บริษัท ทำการบินแล้ว 11 บรัท • บริษัทที่ได้รับอนุญาตให้ทำการบินโดยใช้เฮลิคอปเตอร์ บอลลูน และกิจกรรมการบินทั่วไป(โดดร่ม ฝึกบิน ฯลฯ) รวม 22 บริษัท ทำการบินแล้ว 16 บริษัท

  13. ข้อมูลการอนุญาตสายการบินต่างประเทศข้อมูลการอนุญาตสายการบินต่างประเทศ • สายการบินต่างประเทศที่ได้รับอนุญาตให้ทำการบินแบบประจำมีกำหนดประมาณ 105 สายการบิน จำนวนเที่ยวบินประมาณ 1806 เที่ยว/สัปดาห์ • สายการบินต่างประเทศที่ทำการบินเช่าเหมาลำประมาณ 11 สายการบิน จำนวนเที่ยวบินประมาณ 797 เที่ยวบิน

More Related