781 likes | 1.21k Views
กลุ่มโรคติดต่อทางเดินหายใจ. อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์. ทางเดินหายใจส่วนบน. U pper R espiratory I nfection : Acute Viral Rhinitis/ Pharyngitis (Common Cold). Strep T hroat , C aused by G roup A S treptococcus ( GAS ). L ower R espiratory I nfection : Croup ( Laryngotracheitis ),
E N D
กลุ่มโรคติดต่อทางเดินหายใจกลุ่มโรคติดต่อทางเดินหายใจ อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์
Upper Respiratory Infection : Acute Viral Rhinitis/Pharyngitis (Common Cold)
StrepThroat, Causedby GroupAStreptococcus (GAS)
Lower Respiratory Infection : Croup (Laryngotracheitis), Acute Viral Tracheobronchitis, Bronchitis, Bronchiolitis, Pneumonia
1. ลักษณะโรค • ไข้ ไอ หายใจเร็ว + อาการทั่วไป (หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย ไม่สบายตัว เบื่ออาหาร อาการระบบทางเดินอาหาร) • ตาแดง (Conjunctivitis) • อาการเฉพาะที่ Rhinitis, Pharyngitis, Tonsillitis, Laryngitis, Laryngotracheitis, Bronchitis, Bronchiolitis, Pneumonia • ดีขึ้นภายใน 2-5 วัน
Rhinosinusitis Common cold Purulent rhinitis Otitis media Pharyngotonsilitis Epiglotitis Laryngitis Croup Acute bronchitis AECB Pneumonia Rhinosinusitis Common cold Purulent rhinitis Otitis media Pharyngotonsilitis Epiglotitis Laryngitis Croup Acute bronchitis AECB (Acute exacerbations of chronic bronchitis) Pneumonia
2. เชื้อก่อโรค เชื้อโรค ทำให้เกิดโรค Bronchiolitis, Pneumonia, Croup, Bronchitis, Otitis Media, URI มีไข้ Respiratory SyncytialVirus (RSV) Parainfluenza Croup, bronchitis, pneumonia, bronchitis, Acute Respiratory Infection in Children (ARIC)
3. การเกิดโรค • พบได้ทั่วโลก มักเกิดในฤดูหนาว • เด็กเป็นได้ 2-6 ครั้งต่อปี • เด็กวัยเรียนเป็นได้ 2% ต่อสัปดาห์ • ผู้ใหญ่ 0.5% ต่อสัปดาห์
4. แหล่งรังโรค ในคน เชื้อ Adenovirus อาจอยู่ที่ Tonsils และ Adenoid
5. วิธีการแพร่เชื้อ • ติดต่อโดยตรงโดยการสัมผัสกับเชื้อโดยตรง หรือผ่านมือ เครื่องใช้ • Adenovirus Type 3, 4, 7 อาจระบาดในสระว่ายน้ำ • Enterovirusและ Adenovirus อาจถูกขับถ่ายทางอุจจาระ
6. ระยะฟักตัว ป่วย รับเชื้อ 1-10 วัน
7. ระยะติดต่อของโรค แพร่เชื้อได้ตั้งแต่ก่อนมีอาการ RSV อาจอยู่ได้นานหลายอาทิตย์หลังอาการหาย
8. ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ • เป็นบ่อยในวัยเด็ก • อาการรุนแรงในทารก เด็ก และคนสูงอายุ • เมื่อเป็น ร่างกายจะสร้างภูมิคุ้มกันระยะสั้น ๆ • ในคนที่เป็นโรคปอด โรคหัวใจ หรือคนที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ อาการจะรุนแรงได้
9. วิธีการป้องกัน A. มาตรการป้องกัน ในทารกที่เสี่ยงมาก ให้ RSV Immuno Globulin, Palivizumab, RSV Monoclonal Antibody
9. วิธีการป้องกัน B. การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม I. รายงานให้เจ้าหน้าที่ผิดชอบในพื้นที่ II. การแยกผู้ป่วย : จำเป็นกรณีในโรงพยาบาล III. การทำลายเชื้อ :ทำในอุปกรณ์ที่ปนเปื้อนเชื้อโรค IV. การกักกัน : ไม่จำเป็น V. การให้ภูมิคุ้มกันแก่ผู้สัมผัสโรค : ยังไม่มีวิธีการ VI. การตรวจผู้สัมผัสโรคและแหล่งแพร่เชื้อ :ไม่แนะนำ
9. วิธีการป้องกัน VII. การรักษาเฉพาะ : ไม่มี ให้ยาปฏิชีวนะใน Group A StreptococciOtitis Media, Pneumonia, Sinusitis การใช้ยาแก้ไอ ลดน้ำมูก แก้แพ้อาจจะมีอันตรายในเด็ก
9. วิธีการป้องกันโรค C. การประเมินด้านระบาดวิทยา : ไม่มีวิธีที่ได้ผล D. สัญญาณเตือนภัยที่ควรระวัง : ไม่มีอันตรายร้ายแรง E. มาตรการควบคุมโรคระหว่างประเทศ : ศูนย์ประสานเพื่อความร่วมมือองค์การอนามัยโลก (WHO Collaborating Centers)
1. ลักษณะโรค • หวัด จาม น้ำตาไหล น้ำมูกไหล เจ็บคอเล็กน้อย อาจไม่สบายตัว หนาวสั่น เป็น 2-7 วัน • เด็กโตและผู้ใหญ่ ไม่ค่อยเป็นไข้ • ทำให้ขาดงาน ขาดโรงเรียน • อาการหวัดอาจร่วมกับ Laryngitis, Tracheitis, Bronchitis • โรคแทรกซ้อน Sinusitis, Otitis Media
2. เชื้อก่อโรค • 20-40% เป็น Rhinoviruses มีมากกว่า 100 Serotype • 10-15% เป็น Coronavirus • 10-15% เป็น Influenza
3. การเกิดโรค • พบได้ทั่วโลก เป็นทั้ง Endemic และ Epidemic • เป็นได้ 1-6 ครั้งต่อปี • เด็ก <5 ปีจะเป็นบ่อยและลดลงเมื่อโต
4. แหล่งรังโรค ในคน
5. วิธีการแพร่เชื้อ ไอ จามรดกัน (Direct Contact)
5. วิธีการแพร่เชื้อ สัมผัสโดยตรงกับน้ำมูก น้ำลายของผู้ติดเชื้อ(Direct Contact)
5. วิธีการแพร่เชื้อ ติดจากมือ เครื่องใช้ที่ปนเปื้อนน้ำมูก น้ำลาย(Indirect Contact)
6. ระยะฟักตัว ป่วย รับเชื้อ 12 ชั่วโมง – 5 วัน (เฉลี่ย 48 ชั่วโมง)
7. ระยะติดต่อของโรค มีอาการ 24 ชั่วโมง 5 วัน หลังมี ก่อนมี
8. ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ • ในคนแข็งแรงอาจไม่มีอาการ • เป็นได้บ่อย เชื้อมีหลายชนิดและภูมิคุ้มกันในคนที่เคยป่วยลดลง
9. วิธีการป้องกัน • A. มาตรการป้องกัน • ให้ความรู้เรื่องสุขวิทยาส่วนบุคคล • หลีกเลี่ยงการอยู่ในที่แออัด • ให้ Adenovirus Vaccine (type 4, 7 21) • หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ในบ้านที่มีเด็ก
9. วิธีการป้องกัน B. การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม I. รายงานให้เจ้าหน้าที่ผิดชอบในพื้นที่ II. การแยกผู้ป่วย : ไม่จำเป็น III. การทำลายเชื้อ :ทำในอุปกรณ์ที่ปนเปื้อนเชื้อโรค IV. การกักกัน : ไม่จำเป็น V. การให้ภูมิคุ้มกันแก่ผู้สัมผัสโรค : ไม่จำเป็น VI. การตรวจผู้สัมผัสโรคและแหล่งแพร่เชื้อ :ไม่มีประโยชน์ VII. การรักษาเฉพาะ : ไม่มี
9. วิธีการป้องกันโรค C. การประเมินด้านระบาดวิทยา : ไม่มีวิธีที่ได้ผล D. สัญญาณเตือนภัยที่ควรระวัง : ไม่มีอันตรายร้ายแรง E. มาตรการควบคุมโรคระหว่างประเทศ : ศูนย์ประสานเพื่อความร่วมมือองค์การอนามัยโรค (WHO Collaborating Centers)
Lower Respiratory Infection : Croup (Laryngotracheitis), Acute Viral Tracheobronchitis, Bronchitis, Bronchiolitis, Pneumonia
1. ลักษณะโรค • เป็นโรคติดเชื้อเฉียบพลันของทางเดินหายใจส่วนล่าง • อัตราป่วย 100/100,000 ประชากร • ไข้สูงทันที (หนาวสั่น, ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อและข้อ, ปวดศีรษะ, ไม่สบายตัว) เจ็บหน้าอก หายใจเข้าไม่สะดวก ไอมีเสมหะ • คนสูงอายุอาการอาจไม่เริ่มทันที มีไข้ หายใจไม่สะดวก ซึม • เด็กอาจเริ่มด้วยไข้ อาเจียน ชัก • X-ray พบ Lobar หรือ Segmental Consolidation
1. ลักษณะโรค • เป็นสาเหตุการตายที่สำคัญในเด็ก ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้มีภูมิต้านทานต่ำ • ก่อนมียาปฏิชีวนะ อัตราตาย 20-40% หลังมีลดเหลือ 5-10% • ผู้มีโรคประจำตัวหรือ Alcoholism อัตราตาย 20-40% หรือถึง 50% • ประเทศกำลังพัฒนา เด็กอัตราตาย >10% เด็กอายุ <6 เดือน อัตราตาย >60%
2. เชื้อก่อโรค • Streptococcus Pneumoniaeเป็น Gram-positive Encapsulated Coccus • 75% เกิดจาก 11 Serotype ที่พบบ่อย
3. การเกิดโรค • เกิดได้ในชุมชน โดยเฉพาะในเด็ก และผู้สูงอายุ ผู้มีโรคประจำตัว หรือภาวะทุพโภชนาการ กลุ่มคนยากจน • อัตราป่วยสูงขึ้นกรณีมีการระบาดของ Influenza • ปัญหาสำคัญ คือมีการดื้อต่อยา Penicillin, Cephalosporin และ Macrolides
4. แหล่งรังโรค ในคน
5. วิธีการแพร่เชื้อ ไอ จามรดกัน (Droplet Transmission)
5. วิธีการแพร่เชื้อ สัมผัสโดยตรงกับน้ำมูก น้ำลายของผู้ติดเชื้อ(Direct Contact)
5. วิธีการแพร่เชื้อ ติดจากเครื่องใช้ที่ปนเปื้อนน้ำมูก น้ำลาย(Indirect Contact)
6. ระยะฟักตัว ป่วย รับเชื้อ ประมาณ 1-3 วัน
7. ระยะติดต่อของโรค จนกว่าเชื้อจะหมดไปจากปากและจมูก ถ้าได้ยา Penicillin เชื้อจะถูกทำลายภายใน 24-48 ชั่วโมง
8. ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ • ในคนแข็งแรงอาจเป็นได้ • สูงขึ้นในคนเป็น Influenza, Pulmonary Edema, Aspiration, Chronic Lung Disease หรือคนสูบบุหรี่ ในผู้สูงอายุหรือผู้มีโรคเรื้อรัง Asplenia, Sickle Cell Disease, Chronic Cardiovascular Disease, Diabetes Mellitus, Cirrhosis, Hodgkin Disease, Lymphoma, Multiple myeloma, Chronic Renal Failure, Nephrotic Syndrome, HIV Infection, การทำ Organ Transplantation • เป็นแล้วมีภูมิคุ้มกันอยู่นานหลายปี • แต่ติดเชื้อซ้ำได้ในกรณีคนมีภูมิคุ้มกันไม่แข็งแรง หรือเกิดตามโรคอื่น