1 / 11

บริหารอย่างไรเพื่อพลิกวิกฤติเป็นโอกาสในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

บริหารอย่างไรเพื่อพลิกวิกฤติเป็นโอกาสในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า. โดย ศาสตราภิชานไกรฤทธิ์ บุณยเกียรติ. ส่วนใหญ่จะไม่ถึงขั้นวิกฤติ แต่ก็เป็นประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียควรร่วมกันคิด. 1. ความเป็นสากล.

aidan-ford
Download Presentation

บริหารอย่างไรเพื่อพลิกวิกฤติเป็นโอกาสในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บริหารอย่างไรเพื่อพลิกวิกฤติเป็นโอกาสในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าบริหารอย่างไรเพื่อพลิกวิกฤติเป็นโอกาสในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดย ศาสตราภิชานไกรฤทธิ์ บุณยเกียรติ

  2. ส่วนใหญ่จะไม่ถึงขั้นวิกฤติ แต่ก็เป็นประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียควรร่วมกันคิด

  3. 1. ความเป็นสากล • ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงจะมีแนวคิดในระดับชาติคล้ายๆ กัน แต่มีความละเอียดอ่อนในรายประเทศอยู่ไม่น้อย

  4. 2. การบริหารจัดการแบบเครือข่าย และแบบเขตสุขภาพ • ประเด็นนี้โอกาสอยู่ที่การผสมผสานและสร้างความพอดี ในการจัดการเพื่อตอบสนองต่อนโยบายรัฐฯ และความต้องการของท้องถิ่นอย่างเสริมพลังกัน

  5. 3. ระบบการคลังสุขภาพระยะยาว • เรื่องนี้เป็นเรื่องที่มีความเสี่ยงด้านการเพิ่มงบประมาณในอนาคตสูงสุด เพราะมีตัวอย่างในหลายประเทศที่มีฐานะทางเศรษฐกิจดีมาก แต่ระบบประกันสุขภาพแห่งชาติก็ยังเป็นภาระด้านการคลังแบบพอกพูนขึ้นทุกที

  6. 4. ระบบบริหารกองทุนที่เปลี่ยนไป • ระบบประกันสุขภาพแห่งชาติไทย ถึงแม้จะมีระบบที่ดี และมีการดำเนินการด้านธุรการที่ค่อนข้างราบรื่นมาโดยตลอด แต่ในอนาคตโอกาสจะอยู่ที่ภาวะผู้นำในการฝ่าวิกฤตทั้งภายนอกภายใน

  7. 5. การบริหารอุปทาน • ในประเด็นนี้หมายถึง โอกาสในการจัดลำดับความสำคัญก่อนหลังตอบสนองความต้องการ และการกำหนดเงื่อนไขกลุ่มผู้ได้รับผลประโยชน์

  8. 6. การบริหารอุปสงค์ • ประเด็นนี้หมายถึง โอกาสการบริหารเงินเพื่อสนับสนุนการรักษาโรค ตามความต้องการเฉพาะกลุ่ม อย่างมีสมรรถภาพและได้ผลสัมฤทธิ์สูงอีกด้วย

  9. 7. การบริหารเจตคติต่างๆ ให้ลงตัว • คือ โอกาสที่สร้างความพอดีในการตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายกลุ่ม

  10. 8. การบริหารข้อผิดพลาด • องค์การขนาดใหญ่อย่าง สปสช. เป็นองค์กรที่ต้องมี ขีดความสามารถในการบริหารความ “กลับตาลปัตร”(Paradox) ทั้งในปัจจุบันและอนาคตได้

  11. กล่าวโดยสรุปคือ ความสำเร็จของการบริหารเพื่อพลิกวิกฤติเป็นโอกาส ในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า จะขึ้นอยู่กับแผนยุทธศาสตร์และทีมบริหาร ที่จะต้องมองไปทิศทางเดียวกันหรืออีกนัยหนึ่งคือ การเพิ่มประสิทธิภาพและสัมฤทธิ์ผลได้อย่างลงตัว ในเรื่องบริหารจัดการในประเด็นทั้ง 8 ข้างต้นโดยพร้อมเพียงกัน

More Related