780 likes | 3.22k Views
การสมาสแบบไทย. 1. เป็นการประสมคำระหว่างภาษาบาลีและสันสกฤตเท่านั้น. 2. ศัพท์ประกอบไว้หน้า ศัพท์หลักไว้หลัง. 3. แปลจากหลังมาหน้า. 4. ไม่ต้องใส่สระ อะ และ การันต์ ที่ท้ายศัพท์แรก. 5. ต้องออกเสียงสระที่ท้ายศัพท์แรก. 6. วร , พระ ตามด้วยคำบาลี สันสกฤต เป็นคำสมาส. ราช . การ. = ราชการ. +.
E N D
การสมาสแบบไทย 1. เป็นการประสมคำระหว่างภาษาบาลีและสันสกฤตเท่านั้น 2. ศัพท์ประกอบไว้หน้า ศัพท์หลักไว้หลัง 3. แปลจากหลังมาหน้า 4. ไม่ต้องใส่สระ อะ และ การันต์ ที่ท้ายศัพท์แรก 5. ต้องออกเสียงสระที่ท้ายศัพท์แรก 6. วร , พระ ตามด้วยคำบาลี สันสกฤต เป็นคำสมาส
ราช การ = ราชการ + = ราชทูต ราช + ทูต ราช + ธรรม = ราชธรรม + ราช ครู = ราชครู วัง = ราชวัง x ราช +
ธรรมชาติ ธรรมบท ธรรมกาย กรรมกร กรรมการ กรรมพันธุ์ ผลผลิต ผลิตผล ผลไม้ พลเมือง พลศึกษา พลการ อุดมสมบูรณ์ อุดมการณ์ อุดมคติ x x x x
พระบาท พระสุหร่าย พระเก้าอี้ กิจจะลักษณะ กิจการ กิจธุระ ธุรกิจ ยุทธการ การยุทธ์ วัตถุโบราณ โบราณวัตถุ อุตรดิตถ์ วิพากษ์วิจารณ์ วิจารณญาณ ยานพาหนะ ศิลปกรรม วิทยากร x x x x x x x x
การสนธิแบบไทย สระสนธิ การนำเอาคำบาลีสันสกฤตมาสนธิกับคำที่ขึ้นด้วยสระ ๑. ตัดสระท้ายคำหน้าใช้สระหน้าคำหลัง มหา + อรรณพ - มหรรณพ ประชา + อากร - ประชากร วชิร + อาวุธ - วชิราวุธ
วิทยา + อาลัย - วิทยาลัย พุทธ + โอวาท - พุทโธวาท สุทธ + อาวาส - สุทธาวาส ศิราภรณ์ ศิระ + อาภรณ์ - เมษายน เมษ + อายน -
มกร + อาคม - มกราคม วร + โอกาส - วโรกาส ธน + อาคาร - ธนาคาร มหา + โอฬาร - มโหฬาร มหา + ไอศวรรย์ - มไหศวรรย์
๒. ตัดสระท้ายคำหน้า ใช้สระหน้าคำหลัง แต่เปลี่ยน อะ เป็น อา อิ เป็น เอ อุ เป็น อู โอ ราช + อธิราช - ราชาธิราช ประชา + อธิปไตย - ประชาธิปไตย ราม + อธิบดี - รามาธิบดี ทูต + อนุทูต - ทูตานุทูต
ราม + อิศวร - ราเมศวร นร + อิศวร - นเรศวร ปรม + อินทร์ - ปรเมนทร์ มเหสี มหา + อิสี - คช + อินทร์ - คเชนทร์
ราช + อุปถัมภ์ - ราชูปถัมภ์ ราช + อุปโภค - ราชูปโภค สาธารณะ + อุปโภค - สาธารณูปโภค ราโชบาย ราช + อุบาย - นโรดม นร + อุดม - สุข + อุทัย - สุโขทัย
๓. เปลี่ยนสระท้ายคำหน้า อิ อี เป็น ย อุ อู เป็น ว แล้วสนธิตามข้อ ก หรือ ข มติ + อธิบาย - มตยาธิบาย อัคโยภาส อัคคี + โอภาส - รตยารมณ์ รติ + อารมณ์ - สามัคคี + อาจารย์ - สามัคยาจารย์
พยัญชนะสนธิ ๑. เปลี่ยน ส เป็น โ มนัส + ธรรม - มโนธรรม มโนมัย มนัส + มัย - มโนกรรม มนัส + กรรม - ศิรัส + เวฐน์ - ศิโรเวฐน์
๒. เปลี่ยน ส เป็น ร ทุส + ชน - ทุรชน,ทรชน ทุส + ลักษณ์ - ทุรลักษณ์,ทรลักษณ์ ทุส + กันดาร - ทุรกันดาร นิส + ภัย - นิรภัย นิส + เทศ - นิรเทศ,เนรเทศ นิส + โทษ - นิรโทษ
นฤคหิตสนธิ ๑. ํ สนธิกับ สระ เปลี่ยน ํ เป็น ม สํ + อาคม - สมาคม สํ + อิทธิ - สมิทธิ สํ + อาทาน - สมาทาน ศุภํ + อัสดุ - ศุภมัสดุ
๒. ํ สนธิกับพยัญชนะ เปลี่ยนน ํ เป็นพยัญชนะท้ายวรรคนั้น สังคม สังขาร สํ + คม - สํ + ขาร - สัญญาณ สํ + จร - สัญจร สํ + ญาณ - สัณฐาน สํ + ฐาน - สํ + ถาร - สันถาร กึ + นร - สํ + ผัส - สัมผัส กินนร
๓. ํ สนธิกับเศษวรรคเปลี่ยน ํ เป็น ง สังวร สํ + วร - สํ + หรณ์ - สังหรณ์ สังสนทนา สํ + สนทนา - สํ + โยค - สังโยค สํ + สรรค์ - สังสรรค์
คำต่อไปนี้สนธิมาจากคำใดคำต่อไปนี้สนธิมาจากคำใด ราชนี + อนุสรณ์ ราชินยานุสรณ์ - เหตวาเนกรรถประโยค- เหตุ+อน+เอก+อรรถ/ประโยค เวสสันดร - เวสส + อันดร วชิร + อาวุธ + อนุสรณ์ วชิราวุธานุสรณ์ - ทานัชฌาสัย - ทาน + อัชฌาสัย นิโลตบล - นิล + อุตบล
คำใดไม่ใช่คำสมาส เวฬุวัน เมรุมาศ กระยาหาร บรรจุภัณฑ์ คริสต์ศักราช เคมีภัณฑ์ ถนิมาภรณ์ สยามรัฐ จันทร์เพ็ญ เทพนม x x x x x x x x x
ราชินี + อนุสรณ์ - ราชินยานุสรณ์ นโรดม นร + อุดม - สินธุ + อานนท์ - สินธวานนท์ อน + อามัย - อนามัย คคนานต์ คคน + อันต์ - นโยบาย นย + อุบาย - ราช + โองการ - ราโชงการ