1 / 60

การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ วิเชียร พันธ์เครือบุตร

การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ วิเชียร พันธ์เครือบุตร. 1. กำหนดจุดประสงค์การเรียนการสอน จัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล. 2. วัตถุประสงค์ของการวัดและประเมินผล. เพื่อวินิจฉัยความรู้ ความสามารถ ทักษะ คุณธรรม ใช้เป็นข้อมูลป้อนกลับให้แก่ตัวผู้เรียน

aelan
Download Presentation

การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ วิเชียร พันธ์เครือบุตร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้วิเชียร พันธ์เครือบุตร 1

  2. กำหนดจุดประสงค์การเรียนการสอนกำหนดจุดประสงค์การเรียนการสอน จัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล 2

  3. วัตถุประสงค์ของการวัดและประเมินผลวัตถุประสงค์ของการวัดและประเมินผล เพื่อวินิจฉัยความรู้ ความสามารถ ทักษะ คุณธรรม ใช้เป็นข้อมูลป้อนกลับให้แก่ตัวผู้เรียน ใช้เป็นข้อมูลในการสรุปผลการเรียนรู้ เปรียบเทียบถึงระดับพัฒนาการของการเรียนรู้ 3

  4. วัตถุประสงค์ของการวัดและประเมินผลวัตถุประสงค์ของการวัดและประเมินผล เพื่อวินิจฉัยความรู้ ความสามารถ ทักษะ คุณธรรม ใช้เป็นข้อมูลป้อนกลับให้แก่ตัวผู้เรียน ใช้เป็นข้อมูลในการสรุปผลการเรียนรู้ เปรียบเทียบถึงระดับพัฒนาการของการเรียนรู้ 4

  5. วัตถุประสงค์ของการวัดและประเมินผลวัตถุประสงค์ของการวัดและประเมินผล เพื่อวินิจฉัยความรู้ ความสามารถ ทักษะ คุณธรรม ใช้เป็นข้อมูลป้อนกลับให้แก่ตัวผู้เรียน ใช้เป็นข้อมูลในการสรุปผลการเรียนรู้ เปรียบเทียบถึงระดับพัฒนาการของการเรียนรู้ 5

  6. การวัดผล การประเมินผล การวัดและประเมินผล 6

  7. การวัดผล เป็นการกำหนดตัวเลขหรือสัญลักษณ์แทนปริมาณ หรือคุณภาพของคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ ของสิ่งที่ต้องการวัด เป็นการกำหนดตัวเลขหรือสัญลักษณ์โดยสิ่งที่วัดนั้น เป็นผลมาจากการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างร่วมกัน เช่น การวัดผลการเรียนรู้ สิ่งที่วัดคือ ผลที่เกิดจากการเรียนรู้ของผู้เรียน 7

  8. องค์ประกอบของการวัด สิ่งที่ต้องการวัด เครื่องมือวัด ผลของการวัด ประเภทของสิ่งที่ต้องการวัด • สิ่งที่เป็นรูปธรรม ความสูง • สิ่งที่เป็นนามธรรม ความรัก 8

  9. หลักการวัดทางการศึกษาหลักการวัดทางการศึกษา นิยามสิ่งที่ต้องการวัดให้ชัดเจน ใช้เครื่องมือวัดที่มีคุณภาพ กำหนดเงื่อนไขของการวัดให้ชัดเจน 9

  10. ลักษณะการวัดทางการศึกษาลักษณะการวัดทางการศึกษา เป็นการวัดคุณลักษณะที่เป็นนามธรรม เป็นการวัดทางอ้อม วัดได้ไม่สมบูรณ์ มีความผิดพลาด อยู่ในรูปความสัมพันธ์ 10

  11. แนวทางการวัดผล ต้องวัดทั้งความรู้ ความสามารถ คุณธรรม ต้องสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ต้องเก็บข้อมูลที่ได้จากการวัดจริง ต้องนำไปสู่การแปลผลและข้อสรุปที่สมเหตุสมผล ต้องมีความเที่ยงตรงและเป็นธรรม 11

  12. การประเมินผล การประเมินผล .evaluation เป็นการประเมินตัดสิน มีการกำหนดเกณฑ์ชัดเจน เช่น คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป ตัดสินว่าอยู่ในระดับดี .assessment เป็นการประเมินเชิงเปรียบเทียบ ใช้เกณฑ์เชิงสัมพันธ์ 12

  13. หลักการประเมินทางการศึกษาหลักการประเมินทางการศึกษา ขอบเขตการประเมินต้องตรงและครอบคลุม ใช้ข้อมูล จากการวัดหลายแหล่ง หลายวิธี เกณฑ์ที่ใช้ตัดสิน ชัดเจน เป็นไปได้ มีความยุติธรรม 13

  14. ประเภทของการประเมินทางการศึกษาประเภทของการประเมินทางการศึกษา แบ่งตามจุดประสงค์ของการประเมิน การประเมินก่อนเรียน หรือการประเมินพื้นฐาน การประเมินเพื่อพัฒนา หรือการประเมินย่อย การประเมินเพื่อตัดสินหรือการประเมินผลรวม แบ่งตามการอ้างอิง • การประเมินแบบอิงตน • การประเมินแบบอิงกลุ่ม • การประเมินแบบอิงเกณฑ์ แบ่งตามผู้ประเมิน • การประเมินตนเอง • การประเมินโดยผู้อื่น หรือการประเมินภายนอก 14

  15. กำหนดจุดประสงค์การเรียนการสอนกำหนดจุดประสงค์การเรียนการสอน จัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล 15

  16. ฝึกอบรมนักเรียนให้มีความเจริญงอกงามไปในทิศทางที่เหมาะสมไปในทิศทางที่จะช่วยสนองความต้องการที่พึงพอใจของเขาให้สามารถที่จะดำรงชีวิตในสังคมฝึกอบรมนักเรียนให้มีความเจริญงอกงามไปในทิศทางที่เหมาะสมไปในทิศทางที่จะช่วยสนองความต้องการที่พึงพอใจของเขาให้สามารถที่จะดำรงชีวิตในสังคม จุดประสงค์ทางการศึกษา 16

  17. วัตถุประสงค์ในการเรียนการสอนวัตถุประสงค์ในการเรียนการสอน มี 2 ประเภทคือ วัตถุประสงค์ทั่วไป วัตถุประสงค์เฉพาะ หรือวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 17

  18. ส่วนประกอบของวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมส่วนประกอบของวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ประกอบด้วย 3ส่วน พฤติกรรมขั้นสุดท้าย หรือ พฤติกรรมที่คาดหวัง เงื่อนไขหรือ สถานการณ์ เกณฑ์หรือมาตรฐาน 18

  19. ลักษณะสำคัญของพฤติกรรม คือ 1.พฤติกรรมนั้นจะต้องสังเกตหรือวัดได้2.พฤติกรรมนั้นจะต้องเป็นไปตามเป้าหมายที่ต้องการ ตัวอย่างของพฤติกรรมเป้าหมาย ที่สังเกตได้ (เป็นพฤติกรรมที่ใช้ถ้อยคำเพื่อแสดงการกระทำที่สังเกตได้ )-อ่านออกเสียงได้ถูกต้อง-เล่าเรื่องได้-เขียนคำบรรยายได้ ตัวอย่างของพฤติกรรมเป้าหมาย ที่ไม่สามารถสังเกตได้อย่างชัดเจน -ซาบซึ้งในดนตรี -เข้าใจความยากจน -ชอบอ่าน 1.พฤติกรรมขั้นสุดท้าย Terminal Behavior 19

  20. คำหรือถ้อยคำที่แสดงพฤติกรรมซึ่งสังเกตได้1. พฤติกรรมด้านความรู้ เช่น บอก ชี้ เลือก นิยาม ระบุชื่อ จับคู่ 2. พฤติกรรมด้านความเข้าใจ เช่น แปล อธิบาย ขยายความ ยกตัวอย่าง 3. พฤติกรรมด้านการนำไปใช้ เช่น คำนวณค่า สาธิต แก้ปัญหา ปฏิบัติ 4. พฤติกรรมด้านการวิเคราะห์ เช่น หาความสัมพันธ์ หาความแตกต่าง 5. พฤติกรรมด้านสังเคราะห์ เช่น จัดหมวดหมู่ ออกแบบ วางแผนการ 6. พฤติกรรมด้านการประเมินค่า เช่น เปรียบเทียบ วิจารณ์ ตัดสิน ประเมิน 20

  21. 2.เงื่อนไขหรือสถานการณ์Condition or Situation ข้อความที่บ่งถึงสิ่งที่ให้ผู้เรียนแสดงพฤติกรรมที่คาดหวังออกมา กำหนดได้ 3 ลักษณะ ลักษณะที่เป็นส่วนหนึ่งของเนื้อหาบทเรียน ลักษณะของสิ่งเร้าเพื่อให้ผู้เรียนแสดงพฤติกรรมที่คาดหวังออกมา ลักษณะที่เป็นเงื่อนไขของการกระทำ สถานการณ์หรือเงื่อนไขอาจรวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งต่อไปนี้ คือ 1.รูปแบบของข้อสอบ 2. การจำกัดเวลาในการสอบ 3.เงื่อนไขอื่นๆที่จำเป็น 21

  22. 3.เกณฑ์หรือมาตรฐานStandard or Criteria เป็นส่วนที่ใช้ระบุความสามารถขั้นต่ำของผู้เรียน ว่าจะต้องทำได้เพียงใด จึงจะยอมรับได้ว่า ผู้เรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์แล้ว ลักษณะความเร็วหรือการบ่งเวลา ลักษณะปริมาณที่ต่ำที่สุด เป็นเกณฑ์ที่ไม่สามารถระบุเชิงความเร็วหรือปริมาณได้ 22

  23. จำแนกตามลักษณะของการเรียนรู้ได้ 3 ประเภท ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) ด้านเจตพิสัย (Affective Domain) ประเภทของวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 23

  24. วัตถุประสงค์ที่เน้นทางด้านสมรรถภาพทางสมองหรือการใช้ปัญญาวัตถุประสงค์ที่เน้นทางด้านสมรรถภาพทางสมองหรือการใช้ปัญญา ความรู้ (Knowledge-12) ความเข้าใจ (Comprehension-3) การนำไปใช้ (Application-1) การวิเคราะห์ (Analysis-3) การสังเคราะห์ (Synthesis-3) การประเมินผล (Evaluation-2) วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมประเภทพุทธิพิสัย 24

  25. วัตถุประสงค์ที่แบ่งระดับพฤติกรรมที่เกี่ยวกับทักษะความชำนาญวัตถุประสงค์ที่แบ่งระดับพฤติกรรมที่เกี่ยวกับทักษะความชำนาญ การเลียนแบบ (Imitation) การปฏิบัติได้โดยลำพัง (Manipulation) การปฏิบัติได้ถูกต้องแม่นยำ (Precision) การปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและผสมผสาน (Articulation) การปฏิบัติโดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ (Naturalization) วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมประเภททักษะพิสัย 25

  26. วัตถุประสงค์ที่เน้นความสามารถทางความรู้สึก อารมณ์ เจตคติต่อสิ่งต่างๆ การยอมรับ (Receiving) การตอบสนอง (Responding) การสร้างค่านิยม (Valuing) ดำเนินการ (Organization) แสดงลักษณะเฉพาะตนตามค่านิยม (Characterization by a Value) วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมประเภทจิตพิสัย 26

  27. ตัวอย่างวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมตัวอย่างวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม อธิบายขั้นตอนการจัดการเกี่ยวกับไฟล์ได้ถูกต้อง บอกส่วนประกอบของฮาร์ดดิสค์ได้ วิเคราะห์อาการของคอมพิวเตอร์หลังจากติดไวรัสแล้วได้ อธิบายการทำงานของเครื่องพิมพ์ประเภทต่างๆได้ จงเขียนมา คนละ 3 ข้อ 27

  28. ระดับความยากของวัตถุประสงค์Difficulty of Objective 28

  29. ระดับความยากของวัตถุประสงค์Difficulty of Objective ระดับของผู้เรียน (Level of Audience) ความยากของเนื้อหา (Difficulty of Content) 29

  30. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการศึกษาเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการศึกษา ลักษณะเครื่องมือวัดทางด้านพุทธิพิสัย 1. ข้อสอบแบบถูก-ผิด2. ข้อสอบแบบจับคู่ 3. ข้อสอบแบบเลือกตอบ 4. ข้อสอบแบบตอบสั้น 5. ข้อสอบแบบความเรียง การใช้เครื่องมือวัดทางด้านพุทธิพิสัย 1. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. แบบทดสอบวินิจฉัย 3. แบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญาและความถนัด 30

  31. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการศึกษาเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการศึกษา ลักษณะของเครื่องมือวัดจิตพิสัย 1. แบบมาตรวัดประมาณค่า (Rating scale) 2. แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) 3. แบบบันทึกพฤติการณ์ (Anecdotal record) การใช้เครื่องมือวัดจิตพิสัย 1. แบบสำรวจความสนใจ (Interest inventory) 2. แบบวัดเจตคติ (Attitude test) 31

  32. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการศึกษาเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการศึกษา เครื่องมือวัดทักษะพิสัย 1. แบบประเมินกระบวนการ 2. แบบประเมินผลงาน เทคนิคการประเมินอื่น ๆ 1. การทำโครงงาน (Project) 2. บันทึกการเรียนรู้และอนุทิน (Logs and Journal) 3. แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) 32

  33. โครงสร้างความสามารถด้านพุทธิพิสัยโครงสร้างความสามารถด้านพุทธิพิสัย ประเมินค่า สังเคราะห์ วิเคราะห์ การนำไปใช้ ความเข้าใจ ความรู้ความจำ การสร้างเครื่องมือวัดด้านพุทธิพิสัย 33

  34. ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาแบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาแบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ขั้นตอนที่ 1. กำหนดความมุ่งหมายของการสอบ 1.1 สอบทำไม เป้าหมายของการสอบ 1.2 สอบอะไร เนื้อหาและน้ำหนักความสำคัญ 1.3 สอบอย่างไร วิธีการสอบ ชนิด รูปแบบของแบบสอบ และเวลาที่ใช้ ในขั้นนี้ผู้สอนต้องทำการวิเคราะห์จุดมุ่งหมายของหลักสูตร การเรียนรู้ วิเคราะห์เนื้อหา และกิจกรรมที่จัดให้ผู้เรียน 34

  35. ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบการสร้างแบบทดสอบ ประกอบด้วย 2.1 วางแผนการทดสอบ เป็นการวางแผนการวัดผลตลอดทั้งภาคเรียน เช่น การทดสอบ ก่อนสอน ระหว่างสอน (สอบย่อย,กลางภาค) หลังสอน (ปลายภาค) ว่าจะมีการทดสอบทั้งหมดกี่ครั้ง แต่ละครั้งวัดอะไร ใช้เวลาเท่าใด 2.2 กำหนดรูปแบบของแบบสอบ เป็นการกำหนดว่าจะใช้แบบทดสอบรูปแบบใด ชนิดใด เป็นแบบเขียนตอบ แบบถูกผิด หรือแบบเลือกตอบ เป็นต้น 2.3 สร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร 35

  36. ตารางวิเคราะห์หลักสูตรตารางวิเคราะห์หลักสูตร 36

  37. ขั้นตอนที่ 3 ร่างแบบข้อสอบ โดยวัดเนื้อหาและพฤติกรรมตามตารางวิเคราะห์หลักสูตร 1. พลอยได้คะแนนกลางภาควิชาการหลักการวัดและ ประเมินผล 40 คะแนน มีความหมายเหมือนกับข้อใด ก การวัด ข การประเมิน ค การสอบ ง แบบสอบ ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบคุณภาพของข้อสอบ/แบบสอบ 4.1 ตรวจสอบความสอดคล้องและเหมาะสมของข้อสอบ ด้วยวิธีการเชิงเหตุผล (ความตรงเชิงเนื้อหา) 37

  38. 4.2 นำแบบสอบไปทดลองใช้และตรวจสอบ คุณภาพเชิงประจักษ์ (ความยากง่าย อำนาจจำแนก ความเที่ยง ความตรง) 4.3 ปรับปรุงและจัดทำเป็นแบบสอบฉบับสมบูรณ์ 38

  39. การเขียนข้อสอบตามโครงสร้างด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบตามโครงสร้างด้านพุทธิพิสัย 39

  40. ความรู้ความจำ (Knowledge) เป็นความสามารถในการระลึกหรือจำเรื่องราวที่เคยเรียนรู้มาแล้ว ทั้งจากในห้องเรียนและประสบการณ์ทั่วไป จำแนกเป็น 1. ความรู้ในเรื่องเฉพาะ ได้แก่ ศัพท์และนิยามและความจริงเฉพาะอย่าง 2. ความรู้ในแนวทางและวิธีการดำเนินงาน 3. ความรู้ในหลักสากลและนามธรรม 40

  41. ตย. ข้อสอบวัดความรู้ในเรื่องเฉพาะ • การประเมิน (evaluation) หมายถึงข้อใด • การกำหนดค่าเป็นตัวเลขให้กับสิ่งต่างๆ • การตัดสินคุณค่าสิ่งต่างๆ ตามเกณฑ์ที่กำหนด • การกำหนดค่าสิ่งต่างๆ ในเชิงคุณลักษณะ • การดำเนินงานเชิงคุณภาพ • ตย. ข้อสอบวัดความรู้ในแนวทางและวิธีการดำเนินงาน • การจำแนกแบบสอบปรนัยกับอัตนัยใช้เกณฑ์ใดในการแบ่ง • เวลาที่ใช้ในการสอบ • การตรวจให้คะแนน • รูปแบบการตอบ • ปริมาณข้อสอบ 41

  42. ตย. ข้อสอบวัดความรู้ในหลักสากลและนามธรรม • สมการ X= T+E เป็นโมเดลการทดสอบตามทฤษฎีใด • ทฤษฎีการทดสอบแบบใหม่ • ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม • ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบ • ทฤษฎีการสอบแบบสรุปอ้างอิง 42

  43. ความเข้าใจ (Comprehension) ความสามารถในการเรียนรู้ จำ และสื่อสารความรู้นั้นออกมาได้อย่างถูกต้อง • การแปลความ (Translation) การบอกความหมายตามนัยของคำ เหตุการณ์ หรือกิจกรรม • การตีความ (Interpretation) การนำผลการแปลความมาเปรียบเทียบ เป็นข้อยุติ • การขยายความ (Extrapolation) เปรียบเทียบความหมายของคำ เหตุการณ์ หรือกิจกรรม ให้กว้างไกลออกไปจากเดิม 43

  44. ตย. ข้อสอบวัดการแปลความ • การวัด (measurement) มีลักษณะตรงกับในข้อใด • การนำค่าเชิงปริมาณมาวิเคราะห์ผล • การจัดกระทำคุณลักษณะให้มีค่าเชิงปริมาณ • การนำข้อมูลที่ได้มาตัดสินคุณค่า • กระบวนการจัดกระทำทางคุณธรรม • ตย. ข้อสอบวัดการตีความ • การวัด (measurement) มีความหมายเหมือนกับข้อใด • ลูกหยีเก่งวิชาวัดและประเมินผล • ลูกไหนเป็นคนขยัน • หลินได้เกรดวิชาวัดและประเมินผล A • ขวัญสอบวิชาวัดและประเมินผลได้ 50 คะแนน 44

  45. ตย. ข้อสอบวัดการขยายความ • การวัด (measurement) ที่มีคุณภาพย่อมทำให้เกิดสิ่งใด • ผลการวัดคงที่ • ผลการวัดที่เที่ยงตรง • ผลการวัดที่ถูกต้อง • ผลการวัดที่ยุติธรรม 45

  46. การนำไปใช้ (Application) ความสามารถในการนำความรู้ ความเข้าใจที่มีอยู่ไปใช้ในการแก้ปัญหา ในสถานการณ์ใหม่ ตย. ข้อสอบวัดการนำไปใช้ การวัด “ความซื่อสัตย์” ควรดำเนินการอย่างไร ก. กำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการของความซื่อสัตย์ ข. เขียนข้อคำถามตามพฤติกรรมบ่งชี้และ ตรวจสอบคุณภาพของข้อคำถาม ค. ถูกเฉพาะข้อ ก ง. ถูกทั้ง ก และ ข 46

  47. การวิเคราะห์ (Analysis) เป็นความสามารถในการแยกแยะองค์รวมของสิ่งต่างๆ ออกเป็น ส่วนประกอบย่อยๆ ประกอบด้วย • การวิเคราะห์ส่วนประกอบ (Analysis of Element) แยกแยะคุณลักษณะขององค์รวมเป็นส่วนประกอบย่อย • การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของส่วนประกอบ (Analysis of Relationship) แยกแยะคุณลักษณะขององค์รวมเป็นส่วนประกอบย่อยที่สัมพันธ์กัน • การวิเคราะห์แบบเชื่อมโยงโครงสร้างของหลักการ (Analysis of Organizational Principles) แยกแยะคุณลักษณะขององค์รวมเป็นโครงสร้างของส่วนประกอบที่สัมพันธ์กัน 47

  48. ตย. ข้อสอบวัดการวิเคราะห์แบบแยกส่วนประกอบ • องค์ประกอบสำคัญของกระบวนการประเมินตรงกับข้อใด • การสอนและการวัดผล • การสอบและการสังเกตต่างๆ • การสอนและการตัดสินคุณค่า • การวัดและการตัดสินคุณค่า • ตย. ข้อสอบวัดการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของส่วนประกอบ • การวัดกับการประเมินมีความสัมพันธ์กันอย่างไร • การวัดเป็นเกณฑ์การตัดสินคุณค่าของการประเมิน • ผลการวัดที่ถูกต้องทำให้ผลการประเมินน่าเชื่อถือ • การวัดเป็นส่วนหนึ่งของเกณฑ์การตัดสินใจ • ผลการวัดมาใช้เปรียบเทียบกับข้อมูลจากการประเมิน 48

  49. ตย. ข้อสอบวัดการวิเคราะห์แบบเชื่อมโยงโครงสร้างของหลักการ • แบบสอบที่มีความตรงสูงจะมีความเที่ยงเป็นอย่างไร • สูง เพราะแบบสอบที่วัดได้ถูกต้องจะให้ผลการวัดที่คงที่ • สูง เพราะแบบสอบที่วัดได้ชัดเจนจะให้ผลการวัดแตกต่างกันไป • ต่ำ เพราะแบบสอบที่วัดได้ถูกต้องไม่จำเป็นต้องให้ผลการวัดที่คงที่ • ต่ำ เพราะแบบสอบที่ตรงไม่สามารถบอกได้ว่าจะให้ผลการวัดที่คงที่ 49

  50. การสังเคราะห์ (Synthesis) ความสามารถในการผสมผสานส่วนประกอบย่อยเข้าด้วยกันเป็นองค์รวมใหม่ที่กลมกลืนอย่างมีความหมาย ประกอบด้วย • การสังเคราะห์ข้อความ (Production of a unique communications) รวบยอดข้อความเป็นข้อสรุปสำคัญ • การสังเคราะห์แผนงาน(Production of plan or operations) รวมส่วนประกอบย่อยเข้าเป็นแผนการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุผลตามเป้าหมาย • การสังเคราะห์แนวคิด (Derivation of Abstract Relation) ผสมผสานความรู้ต่างๆ เป็นแนวคิดอย่างเป็นระบบ 50

More Related