170 likes | 377 Views
ความคุ้มทุนของทรัพยากรสารสนเทศที่จัดหาของ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. น.ส. อาภรณ์ ไชยสุวรรณ น.ส.บุญเพ็ญ ชูทอง น.ส.จริยา รัตน พันธุ์. วัตถุประสงค์. 1. วิเคราะห์งบประมาณการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศกับอัตราการใช้ 2. วิเคราะห์ความคุ้มทุนของการลงทุนในทรัพยากรสารสนเทศ.
E N D
ความคุ้มทุนของทรัพยากรสารสนเทศที่จัดหาของ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ น.ส. อาภรณ์ ไชยสุวรรณ น.ส.บุญเพ็ญ ชูทอง น.ส.จริยา รัตนพันธุ์
วัตถุประสงค์ 1. วิเคราะห์งบประมาณการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศกับอัตราการใช้ 2. วิเคราะห์ความคุ้มทุนของการลงทุนในทรัพยากรสารสนเทศ
ขั้นตอนและวิธีการศึกษาขั้นตอนและวิธีการศึกษา 1. ประชากรที่ศึกษา คือ หนังสือฉบับพิมพ์ที่ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จัดหา โดยประชากร คือหนังสือที่สามารถยืมออกได้เท่านั้น และวารสารฉบับพิมพ์ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่บอกรับ/ต่ออายุ จำนวน 335 รายการ 3,423 เล่ม
ขั้นตอนและวิธีการศึกษาขั้นตอนและวิธีการศึกษา 2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา สำหรับหนังสือ ได้แก่ ลำดับที่ / ชื่อเรื่อง / ชื่อผู้แต่ง / ปีที่พิมพ์ / จำนวนเล่ม / ISBN/ บาร์โค้ด / ราคาต่อเล่ม / สาขาวิชาที่เสนอ / จำนวนครั้งในการยืม ดังภาพตัวอย่าง
ขั้นตอนและวิธีการศึกษาขั้นตอนและวิธีการศึกษา 2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา สำหรับวารสาร ประกอบด้วย ลำดับที่ / ชื่อวารสาร / ISSN / ปีที่ / ฉบับที่ / วัน เดือน ปี / ปีที่พิมพ์ / บาร์โค้ด / จำนวนเล่ม / ราคา / สาขาวิชาที่เสนอแนะ / จำนวนครั้งในการยืม
การเก็บรวบรวมข้อมูลหนังสือการเก็บรวบรวมข้อมูลหนังสือ • รวบรวมข้อมูลหนังสือที่จัดซื้อในช่วงปีงบประมาณ 2553-2555 เลือกเฉพาะรายการที่อนุญาตให้ยืมเท่านั้น • ดึงข้อมูลสถิติการยืมจากฐานข้อมูลห้องสมุดอัตโนมัติ WalaiAutolib • ข้อมูลของราคาหนังสือ ใช้ราคาสุทธิแล้ว • ข้อมูลของผู้เสนอซื้อ แยกตามสาขาวิชาของผู้เสนอซื้อ ซึ่งข้อมูลวิเคราะห์สามารถแยกตามสำนักวิชาได้
การเก็บรวบรวมข้อมูลวารสารการเก็บรวบรวมข้อมูลวารสาร • รวบรวมข้อมูลจากรายการวารสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศฉบับที่มีการบอกรับและต่ออายุวารสารในช่วงปีงบประมาณ 2553-2555 • รวบรวมจากฐานข้อมูลห้องสมุดอัตโนมัติ WalaiAutolibโมดูล Circulationเพื่อดึงข้อมูลสถิติการยืม • เก็บสถิติการใช้วารสารฉบับปัจจุบันและฉบับย้อนหลังจากการนำตัวเล่มลงมาจากชั้นจัดเก็บ โดยเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ
การเก็บรวบรวมข้อมูล • ตัวอย่างข้อมูลสถิติการยืม สถิติการยืม
การวิเคราะห์ข้อมูล เกณฑ์วิเคราะห์ความคุ้มทุน วิเคราะห์จากสูตร งบประมาณในการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ สถิติการใช้ การประเมินความคุ้มทุน ผู้ดำเนินการได้คิดราคาเทียบกับปริมาณการใช้ประโยชน์ ตัวอย่างเช่น หนังสือราคา 300 บาท หากมีการใช้ 1 ครั้ง ความคุ้มทุน 300 บาท หากมีการใช้ 2 ครั้ง ความคุ้มทุน 150 บาท หากมีการใช้ 5 ครั้ง ความคุ้มทุน 60 บาท หากมีการใช้ 300 ครั้ง ความคุ้มทุน 1 บาท หากไม่มีการใช้ประโยชน์เลย ถือว่า ไม่มีความคุ้มทุนเลย
สถิติที่ใช้ • สถิติที่ใช้ในการวัดค่าความคุ้มทุน โดยใช้ค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย และสูตรการวิเคราะห์ค่าความคุ้มทุน
ค่าร้อยละ เพิ่มขึ้นร้อยละ 95 จากปี 2553 ลดลงร้อยละ 131.50 จากปี 2554
ผลการวิเคราะห์ค่าความคุ้มทุนของหนังสือผลการวิเคราะห์ค่าความคุ้มทุนของหนังสือ
ข้อมูลการบอกรับ/ต่ออายุวารสารข้อมูลการบอกรับ/ต่ออายุวารสาร
ผลการวิเคราะห์ค่าความคุ้มทุนของวารสารผลการวิเคราะห์ค่าความคุ้มทุนของวารสาร