120 likes | 339 Views
ชูการ์ไกรเดอร์ โดย ด.ญ.สโรชา ทุมประสิทธิ์ ชั้น ม.2/1 เลขที่ 40 เสนอ ครู มานะ ผิวผ่อง.
E N D
ชูการ์ไกรเดอร์โดย ด.ญ.สโรชา ทุมประสิทธิ์ ชั้น ม.2/1 เลขที่ 40 เสนอครู มานะ ผิวผ่อง
ชื่อสามัญ : Sugar Gliderชื่อวิทยาศาสตร์ : Petaurus Brevicepsถิ่นกำเนิด : ออสเตรเลีย นิวกินี อินโดนีเซียอาหาร : ผลไม้รสหวาน แมลงหรือหนอนตัวเล็กๆอุปนิสัย : เป็นสัตว์หากินตอนกลางคืน และ สัตว์สังคมรูปร่าง : โตเต็มวัยจากจมูกถึงหางยาวประมาณ 13-18 นิ้วอายุ : ประมาณ 10-15ปี
นิสัยของชูการ์ไกรเดอร์มาดูนิสัยของชูการ์กันก่อนนะ เราจะแบ่งนิสัยออกเป็นช่วงอายุ ดังนี้นิสัยโดยรวม ลักษณะนิสัยของชูการ์ พวกนี้คือ ขี้เล่น ซุกซน ชอบกัดแทะ (เป็นบางตัว) ชอบปีนป่าย ชอบอยู่รวมกลุ่มกัน ขี้อ้อน ขี้ตกใจ และที่สำคัญที่สุดที่ทุกตัวต้องเป็นคือ “ ขี้เซา ”
การตัดเล็บชูการ์1. เริ่มต้นจาการหาผ้ามาคลุมตัวเค้าไว้แบบนี้2. อย่าให้หัวโผล่มาได้ ไม่งั้นเค้ากัดเราแน่ !!3. ค่อย ๆ ดึงนิ้วออกมาทีละนิ้วแบบนี้4. เตรียมกรรไกรตัดเล็บ หรือ กรรไกรตัดหนัง (ของคน) ไว้ให้พร้อม5. ใช้กรรไกรค่อย ๆ เล็มบริเวณปลายเล็บ นิดเดียวนะ ประมาณ 0.01 ml.6. ค่อย ๆ ตัดไปจนครบหมดทุกนิ้ว อาจจะต้องมีการบังคับฝืนใจกันหน่อย เทคนิคง่าย ๆ ในการตัดเล็บ คือ ชูการ์ไม่ค่อยชอบเวลาตัดเล็บเป็นอย่างมากควรจะตัดเวลานอนจะดีที่สุด
การดูเพศชูการ์ไกรเดอร์ตัวเมีย จะมีกระเป๋าที่หน้าท้อง ตอนที่อายุน้อยจะสามารถสังเกตเห็นได้ชัดเพราะขนยังขึ้นไม่เต็มที่ และเมื่ออายุโตขึ้นจะสังเกตเห็นได้ยากเพราะขนจะขึ้นปรกคลุมบริเวณนั้นตัวผู้ จะมีลูกอัณฑะอยู่บริเวณหน้าที่ (ตำแหน่งเดียวกับกระเป๋าหน้าท้องของตัวเมีย) และลงมาจะเป็นอวัยวะเพศจะมีลักษณะเป็นเส้น 2 เส้น จะหดอยู่อยู่ในบริเวณทวารหนัก เมื่อโตขึ้นจะสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจน เพราะตัวผู้มักจะเอาออกมาทำความสะอาดอยู่บ่อย ๆ
เรื่องการสืบพันธุ์ของชูการ์ในช่วง ระหว่างเดือน มิถุนายน ถึง เดือน พฤศจิกายน จะเข้าสู่ช่วงฤดูผสมพันธุ์ โดยตัวผู้หนึ่งตัวสามารถผสมกับตัวเมียได้หลายตัว ชูการ์จะใช้ระยะเวลาในการทั้งท้อง ประมาณ 16 วัน ถึง 21 วัน เมื่อคลอดลูกออกมาแล้วลูกจะคลานเข้าสู่กระเป๋าหน้าท้องของแม่- ตัวผู้พร้อมผสมพันธ์ โดยประมาณ 10เดือน- ตัวเมียพร้อมผสมพันธ์ โดยประมาณ 8เดือน หรือ 1ปี
วิธีการเปลี่ยนอาหารใหม่ให้ชูการ์ไกรเดอร์วิธีการเปลี่ยนอาหารใหม่ให้ชูการ์ไกรเดอร์ การเปลี่ยนอาหารแบบทันทีทันใดส่วนมากเค้าจะไม่ค่อยกินค่ะ มันจะต้องมีสูตรและเทคนิกกันหน่อย วันที่ 1 — อาหารเดิม 90% อาหารใหม่ 10% วันที่ 2 — อาหารเดิม 80% อาหารใหม่ 20% วันที่ 3 — อาหารเดิม 70% อาหารใหม่ 30% วันที่ 4 — อาหารเดิม 50% อาหารใหม่ 50% วันที่ 5 — อาหารเดิม 25% อาหารใหม่ 75% วันที่ 6 — อาหารเดิม 10% อาหารใหม่ 90% วันที่ 7 — อาหารเดิม 0% อาหารใหม่ 100%
อาหารของ ชูการ์ไกรเดอร์ นั้น ตามธรรมชาตินั้น จะหากินกลางคืนและจะกิน ยางไม้ แมลง และเกสรดอกไม้ต่าง ๆ ได้แยกการกินออกเป็นช่วงอายุดังนี้อายุตั้งแต่ แรกเกิด – 4 เดือนอาหารสำหรับชูก้าเด็กนั้นคือ ซีลีแลค เพียงอย่างเดียว เพราะกะเพาะชูก้าเด็กยังปรับตัวได้ไม่ดีจึงไม่แนะนำ ให้ทานอย่างอื่นนอกเหนือจากนี้อายุตั้งแต่ 4 เดือนขึ้นไปอาหารสำหรับชูก้าโต จำแนกดังนี้- ซีลีแลค Carnivorous Care- ผลไม้ ที่มีรสหวาน เช่น ชมพู่ แตงโม องุ่น ขนุน เงาะ ลำใย ฝรั่ง เป็นต้น- หนอน แมลง อื่น ๆ เช่น หนอน waxworm ตัวอ่อนผึ้ง จิ้งหรีด เป็นต้น- เสริม เช่น ยางไม้ เกสรผึ้ง เป็นต้น****ข้อห้าม****1. อาหารทอด2.จิ้งจก(ห้ามเด็ดขาด)
รายชื่อพืชที่เป็นพิษสำหรับชูการ์ไกรเดอร์รายชื่อพืชที่เป็นพิษสำหรับชูการ์ไกรเดอร์ A อะกาเวะ (ใบ) อัลมอนด์ อะโล อะมาริลิส (หัว) อันโดรเมดร้า แอนเนโมเน่ะ สายพันธุ์แองเจิลส์ ทรัมเพ็ท แอปเปิล (เมล็ด) แอปริคอท (ทุกส่วนยกเว้นผล) ดอกลิลลี่สายพันธุ์เอเชีย หน่อไม้ฝรั่ง ถั่วออสเตรเลีย ดอกออทั่ม โครคัส อะโวคาโด (ใบ) ดอกอะชาลี (ใบ)
วิธีการเปลี่ยนอาหารใหม่ให้ชูการ์ไกรเดอร์วิธีการเปลี่ยนอาหารใหม่ให้ชูการ์ไกรเดอร์ การเปลี่ยนอาหารแบบทันทีทันใดส่วนมากเค้าจะไม่ค่อยกินค่ะ มันจะต้องมีสูตรและเทคนิกกันหน่อย วันที่ 1 — อาหารเดิม 90% อาหารใหม่ 10% วันที่ 2 — อาหารเดิม 80% อาหารใหม่ 20% วันที่ 3 — อาหารเดิม 70% อาหารใหม่ 30% วันที่ 4 — อาหารเดิม 50% อาหารใหม่ 50% วันที่ 5 — อาหารเดิม 25% อาหารใหม่ 75% วันที่ 6 — อาหารเดิม 10% อาหารใหม่ 90% วันที่ 7 — อาหารเดิม 0% อาหารใหม่ 100%
. โรค Trichomoniasis สาเหตุเป็นโรคที่มีเชื้อแบคทีเรียที่เข้ามาในร่างกาย อันเกิดจากการกินน้ำ หรือ อาหารที่ไม่สะอาด การแสดงอาการน้ำหนักลด อาเจียน ท้องเสีย เบื่ออาหาร มีน้ำมูกและขี้ตา วิธีป้องกัน- ควรแยกเค้าไว้และควรให้น้ำอาหารที่สะอาด ดูแลเปลี่ยนน้ำใหม่ทุก ๆ วัน- ควรล้างมือก่อนเตรียมอาหารให้เค้า- ล้างมือก่อนและหลังจากที่เล่นกับเค้า วิธีรักษาเบื้องต้นควรไปพบสัตว์แพทย์เพื่อตรวจเพาะเชื้อ ควรระวังตัวอื่นที่เลี้ยงไว้ด้วยอาจจะติดเชื้อโรคเดียวกันกันได้
โรงพยาบาลและคลินิกเฉพาะทางที่รักษาสัตว์เฉพาะทางโรงพยาบาลและคลินิกเฉพาะทางที่รักษาสัตว์เฉพาะทาง โรงพยาบาลสัตว์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ตั้งอยู่ด้านถนนพหลโยธิน ใกล้กับกรมส่งเสริมการเกษตรเลขที่ 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900โทรศัพท์ 0-2942-8756-59 ต่อ 2118 (ในเวลาราชการ) ต่อ 2155 (นอกวันเวลาราชการ) ต่อ 2118 ประชาสัมพันธ์เวลาให้บริการวันจันทร์ถึงวันพฤหัสบดี 08.30-15.30 น. วันศุกร์ 08.30-11.00 น. วันหยุดราชการ 08.30-11.00 น.บริการตรวจรักษาสัตว์ฉุกเฉินนอกเวลา 18.00-20.00 น.