1 / 48

แนวคิดและกระบวนการ จัดทำตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัด ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศ

แนวคิดและกระบวนการ จัดทำตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัด ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศ. นางสาวสุมาลี เดชานุรักษ์นุ กูล ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผนงาน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. หลักการและเหตุผล. อนาคตประเทศ ไทย. หลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง. รายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้น.

adia
Download Presentation

แนวคิดและกระบวนการ จัดทำตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัด ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวคิดและกระบวนการ จัดทำตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศ นางสาวสุมาลี เดชานุรักษ์นุกูล ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผนงาน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  2. หลักการและเหตุผล อนาคตประเทศไทย หลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง รายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้น เป็นศูนย์กลางการเชื่อมโยงเศรษฐกิจในภูมิภาค เป็นศูนย์กลางด้านการค้า การลงทุน ของภูมิภาค ที่มีระบบโครงข่ายคมนาคมและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ที่ทันสมัย เชื่อมโยงอาเซียนกับโลก ความเหลื่อมล้ำน้อยลง ประชาชนทุกกลุ่มมีมาตรฐานการดำรงชีวิตที่มีคุณภาพ ด้วยระบบการศึกษา สาธารณสุข และระบบยุติธรรมที่มีประสิทธิภาพและทั่วถึง เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ศักยภาพในการแข่งขันสูงขึ้น แหล่งผลิตอาหารคุณภาพของโลก อาหาร ปลอดภัย อาหารฮาลาล ส่งเสริมครัวไทยไปสู่ครัวโลก ศูนย์การผลิตรถยนต์และชิ้นส่วน และศูนย์ทดสอบและวิจัยพัฒนารถยนต์และชิ้นส่วนของเอเชีย ศูนย์กลางการให้บริการสุขภาพของภูมิภาคอาเซียน ศูนย์กลางการผลิตพลังงานสะอาดของภูมิภาคอาเซียน เมืองหลวงแห่งการท่องเที่ยวและบริการของอาเซียน

  3. ประเด็นปัญหาสำคัญของประเทศประเด็นปัญหาสำคัญของประเทศ การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลก ขีดความสามารถในการแข่งขันลดลง ความเหลื่อมล้ำทางสังคมและความเหลื่อมล้ำทางรายได้ ความไม่สมดุลทางเศรษฐกิจ ความเหลื่อมล้ำอยู่ในเกณฑ์สูง ทั้งด้านโอกาสและรายได้ (Income gap) ขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยลดลง แต่ประเทศอาเซียนปรับเพิ่มสูงขึ้นต่อเนื่อง ขาดการเตรียมโครงสร้างพื้นฐานด้านน้ำ และแนวทางการจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ ทำให้เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ในปี 2554 พึ่งพาการส่งออกกว่า 70 % ขาดการเสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศ ขาดการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ Logistic อย่างต่อเนื่อง ขาดการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคอย่างทั่วถึง เมื่อภาคส่งออกได้รับผลกระทบจากความผันผวนทางเศรษฐกิจในต่างประเทศ ทำให้กระทบต่อ GDP ต้นทุน Logistic สูง และใช้พลังงานอย่างสิ้นเปลือง

  4. การจัดทำยุทธศาสตร์ประเทศการจัดทำยุทธศาสตร์ประเทศ การให้บริการพื้นฐานตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ (รัฐธรรมนูญ มาตรา 75) ยุทธศาสตร์และภารกิจกระทรวง นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 แผนปฏิบัติการกระทรวง ยุทธศาสตร์ประเทศ ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติการกลุ่มจังหวัด ยุทธศาสตร์จังหวัด แผนปฏิบัติการจังหวัด

  5. ยุทธศาสตร์ประเทศ • วิสัยทัศน์ • ประเทศมีขีดความสามารถในการแข่งขัน คนไทยอยู่ดีกินดี มีความเสมอภาคและเป็นธรรม • หลักการของยุทธศาสตร์ • ต่อยอดรายได้จากฐานเดิม สร้างรายได้จากโอกาสใหม่ เพื่อความสมดุล และการพัฒนาอย่างยั่งยืนวัตถุประสงค์ • รักษาฐานรายได้เดิม และสร้างรายได้ใหม่ • เพิ่มประสิทธิภาพของระบบการผลิต (ต้องผลิตสินค้าได้เร็วกว่าปัจจุบัน) • ลดต้นทุนให้กับธุรกิจ (ด้วยการลดต้นทุนค่าขนส่งและโลจิสติกส์) • 4 ยุทธศาสตร์หลัก • ยุทธศาสตร์สร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ • ยุทธศาสตร์สร้างโอกาสบนความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม • ยุทธศาสตร์การเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • ยุทธศาสตร์ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ การสร้างความสามารถในการแข่งขัน(Growth & Competitiveness) หลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง คน / คุณภาพชีวิต / ความรู้ / ยุติธรรม โครงสร้างพื้นฐาน / ผลิตภาพ / วิจัยและพัฒนา ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ลดความเหลื่อมล้ำ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม กฎระเบียบ การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม (Inclusive Growth) การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Growth) 5

  6. ตัวชี้วัดเป้าหมายของประเทศใน 10 - 15 ปีข้างหน้า เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ลดความเหลื่อมล้ำ หลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ • GDP per capita เพิ่มเป็น 12,400 US$ ต่อปี • อัตราการขยายตัวของ GDP อยู่ที่5.0 - 6.0% ในช่วง 15 ปีข้างหน้า • ปีการศึกษาเฉลี่ยอยู่ที่ 15 ปี • อัตราการอ่านออกเขียนได้อยู่ที่ 100% • ลดการปล่อยก๊าซ CO2ต่ำกว่า 5 ตัน/คน/ปี • เพิ่มพื้นที่ป่าให้ได้ร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมด (128 ล้านไร่ ) • ประสิทธิภาพและความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ • ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม บริการ การค้า/ลงทุน เพิ่มผลิตภาพการผลิตที่สะอาด เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน Government effectiveness Growth&Competitiveness Inclusive Growth Green Growth 6

  7. ยุทธศาสตร์การสร้างความสามารถในการแข่งขันยุทธศาสตร์การสร้างความสามารถในการแข่งขัน Growth & Competitiveness เพิ่มรายได้จากฐานเดิม และสร้างรายได้จากโอกาสใหม่ ความก้าวหน้าการดำเนินงาน • กรอบเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ • การจัดการการใช้ที่ดิน (โซนนิ่งเกษตร) • ศูนย์กลางการผลิตอาหารคุณภาพ อาหารเพื่อการส่งออก ฮาลาล เกษตรอินทรีย์ • อุตสาหกรรมศักยภาพ (Leading Industries) ยานยนต์ อิเลกทรอนิคส์ • การสร้างรายได้จากการท่องเที่ยว • SMEs • OTOP • วิสาหกิจชุมชน • เขตเศรษฐกิจพิเศษ การค้าชายแดนและความมั่นคง • โครงสร้างพื้นฐาน ขนส่ง พลังงาน ICT • การส่งเสริมการลงทุน ASEAN • ยกระดับห่วงโซ่มูลค่าภาคอุตสาหกรรมสู่การใช้เทคโนโลยีชั้นสูง เพื่อรักษาฐานอุตสาหกรรมเดิม และมุ่งพัฒนาอุตสาหกรรมอนาคตที่สร้างรายได้ใหม่ • สร้างมูลค่าให้กับภาคเกษตร ภาคบริการ และการท่องเที่ยว • สร้างปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาภาคการผลิตและบริการ โดย • ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในการสร้างมูลค่าเพิ่ม • ปริมาณแรงงาน บริการโครงสร้างพื้นฐาน ระบบโลจิสติกส์ICT และพลังงาน เพียงพอกับความต้องการ และมีคุณภาพระดับสากล • มีกฎ ระเบียบที่เอื้อต่อการสร้างความสามารถในการแข่งขัน • รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาค • ใช้โอกาสจากเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558

  8. การจัดการการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตร (โซนนิ่งเกษตร)

  9. หลักการการจัดทำโซนนิ่งภาคเกษตรหลักการการจัดทำโซนนิ่งภาคเกษตร เป็นการบริหารจัดการ การผลิตสินค้าเกษตร ทั้งพืช ปศุสัตว์ และประมง ให้เหมาะสม กับศักยภาพของที่ดิน น้ำ สภาวะแวดล้อม ภูมิอากาศ ระบบโลจิสติกส์ความต้องการ ของตลาดทั้งภายในและต่างประเทศ สอดคล้องกับแนวทางการบริหารจัดการน้ำทั้งระบบ ประโยชน์ของโซนนิ่ง • เกษตรกร • สามารถกำหนดปริมาณและคุณภาพผลผลิตได้แม่นยำมากขึ้น • วางแผนการผลิตและลดความเสี่ยงจากราคาผันผวนต้นฤดู • ลดต้นทุนขนส่งวัตถุดิบสู่โรงงานแปรรูป และขนส่งสินค้าเกษตรไปสู่ตลาดได้ • ผู้ประกอบการเกี่ยวเนื่อง • ลดต้นทุน ได้สินค้าที่มีคุณภาพตรงกับความต้องการ • สามารถวางแผนการบริหารจัดการการแปรรูปผลผลิตเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มได้ชัดเจน • ภาครัฐ • มีระบบฐานข้อมูลกลางของประเทศ เพื่อใช้ในการวางแผนบริหารการพัฒนาภาคเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  10. การจัดทำโซนนิ่งภาคเกษตรการจัดทำโซนนิ่งภาคเกษตร เป้าหมาย การบริหารจัดการที่ดินให้เกิดประโยชน์สอดคล้องกับศักยภาพ และให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม เพื่อรักษาดุลใน 4 ด้าน • สร้างความมั่นคงรายได้ให้เกษตรกร • ใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มตามศักยภาพ • ตอบสนองตลาดโลก • รักษาวินัยทางการเงินการคลัง การพัฒนาอย่างเป็นระบบตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ การเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิต การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตร

  11. แนวคิดการจัดทำโซนนิ่งภาคเกษตรแนวคิดการจัดทำโซนนิ่งภาคเกษตร

  12. การสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวการสร้างรายได้จากการท่องเที่ยว

  13. แนวทางการพัฒนา การท่องเที่ยวเชิงศิลปะและวัฒนธรรม • ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน ศิลปะร่วมสมัย • ภาพยนตร์ เอมิเนชั่น • อาหารไทย, มวยไทย • โบราณสถาน โบราณวัตถุ • กิจกรรมและประเพณี • (มท. พช. กก. พณ.วธ.วท.สสว.สทท.สมาคมท่องเที่ยว) คัดเลือกศิลปะ วัฒนธรรมไทย ที่มีศักยภาพในการส่งเสริมการท่องเที่ยวระดับสากล พัฒนา และฟื้นฟู แหล่งท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรม เผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ • ฟื้นฟู และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว • มรดกโลก • ผลักดันให้โบราณสถาน • ในประเทศไทยเป็นมรดกโลก • พัฒนาการท่องเที่ยวในชุมชนที่มี • ศักยภาพ • ส่งเสริมการลงทุนและพัฒนาธุรกิจภาพยนตร์ • (กก. มท. อปท.วธ.สทท.+สมาคมท่องเที่ยว) พัฒนาส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมให้เป็นงานท่องเที่ยว ระดับโลก • จัดทำภาพยนตร์ส่งเสริมการท่องเที่ยว • จัด Road Show, Trade show (กก. พณ.กต.สสปน. สทท.+สมาคมท่องเที่ยว) • เทศกาลสงกรานต์, ปีใหม่, ลอยกระทง, แห่เทียนพรรษา • เส้นทางท่องเที่ยวลุงโฮ GI และสงครามเอเชียบูรพา • เส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (ล้านนา, อีสาน) • การพัฒนาย่านการค้าจังหวัด • (กก. ททท.วธ. มท. พณ.สทท.+สมาคมท่องเที่ยว)

  14. แนวทางการพัฒนาและเชื่อมโยง สินค้า OTOP กับการท่องเที่ยว • คัดเลือกผลิตภัณฑ์ และสินค้าที่เหมาะสม มีเอกลักษณ์ • สอดคล้องกับ Position จังหวัดและกลุ่มจังหวัด • วิเคราะห์ความต้องการสินค้าของนักท่องเที่ยวกลุ่มต่างๆ • คุณภาพมาตรฐานสินค้าในระดับสากล • (มท. พช. กก. พณ.วธ.วท.สสว.สทท.สมาคมท่องเที่ยว) คัดเลือกสินค้า OTOP ที่สอดกับความต้องการของนักท่องเที่ยว • กำหนด Position จังหวัดและกลุ่มจังหวัด • พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเป็นจุดกระจายสินค้า • ตั้งศูนย์กระจายสินค้า OTOP • (กก. มท. อปท.พณ. • ไปรษณีย์ สภาอุตฯ+สมาคม • ท่องเที่ยว) พัฒนา จุดจำหน่ายสินค้า OTOP ในแหล่งท่องเที่ยว เผยแพร่และประชาสัมพันธ์สินค้า OTOP เพื่อการท่องเที่ยว • จัดทำภาพยนตร์ส่งเสริมการท่องเที่ยว พัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนเชื่อมโยงกับสินค้า OTOP บริษัทนำเที่ยว พัฒนาระบบโลจิสติกส์ขนส่งสินค้าถึงจุดหมายปลายทาง (สนามบิน) • จัด Road Show, Trade show • (ททท.พณ.กต.สทท.+สมาคมท่องเที่ยว) ศูนย์จำหน่ายสินค้า ระบบ package ระบบขนส่ง การเชื่อมโยงกับสนามบิน • OTOP CITY • ชุมชนท่องเที่ยว OTOP (พัฒนาความรู้ มาตรฐาน การตลาด) • (มท. อปท. กก. สทท.+สมาคมท่องเที่ยว) (กก. มท. อปท.พณ.คค.AOT ไปรษณีย์ สทท.ฯ+สมาคมท่องเที่ยว)

  15. การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการขนส่ง

  16. แผนปฏิบัติการ (Action plan) โครงสร้างพื้นฐาน 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุนภายใต้ยุทธศาสตร์โครงสร้างพื้นฐาน 2 ล้านล้านบาท แผนการเบิกจ่ายภายใต้ยุทธศาสตร์โครงสร้างพื้นฐาน 2 ล้านล้านบาท

  17. ตัวอย่างโครงการ โครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง โครงการเร่งรัดก่อสร้างขยาย 4 ช่องจราจรและเพิ่มประสิทธิภาพทางหลวง โครงการ Mass Rapid Transit Current Rail Routes High Speed Rail Routes in Planning โครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง 3 เส้นทาง

  18. ยุทธศาสตร์การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคมยุทธศาสตร์การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม Inclusive Growth • ความก้าวหน้าในการดำเนินการ • การพัฒนาตลอดช่วงชีวิต • การปฏิรูปการศึกษา แรงงานและอาชีวศึกษาให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากลและสอดคล้องกับความต้องการของประเทศ • การพัฒนาระบบประกันสุขภาพ • การคุ้มครองทางสังคม (ศูนย์ช่วยเหลือ (OSSC)) • การแก้ไขปัญหาความมาเท่าเทียมกันและเหลื่อมล้ำทางด้านเศรษฐกิจและสังคม และการเมือง • กำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานระหว่างประเทศ เพื่อรองรับการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี • สร้างความร่วมมือในการป้องกันภัยจากการก่อการร้าย อาชญากรรม ยาเสพย์ติด ภัยพิบัติ และการแพร่ระบาดของโรคภายในภูมิภาค ลดความเหลื่อมล้ำ 18

  19. ยุทธศาสตร์การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมยุทธศาสตร์การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม Green Growth ความก้าวหน้าในการดำเนินการ • พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ /เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green City) • การรับมือและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ • นโยบายการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจเติบโต ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดี ใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พัฒนา Green city เพื่อลดการปล่อย GHG สร้างความร่วมมือในภูมิภาคอาเซียนเพื่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ฟื้นฟูป่าเพื่อรักษาสมดุลของระบบนิเวศและสร้างแหล่งดูดซับ GHGบริหารจัดการน้ำ และเพิ่มศักยภาพในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

  20. ยุทธศาสตร์การปรับสมดุลและพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐยุทธศาสตร์การปรับสมดุลและพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ การบริหารจัดการข้อมูลและการบูรณาการองค์ความรู้ในภาคราชการทั้งที่เป็นองค์ความรู้ในประเทศและของต่างประเทศ การจัดสวัสดิการการดูแลคนตลอดช่วงชีวิต และเร่งแก้ไขปัญหาความไม่สงบและนำสันติสุขกลับสู่จังหวัดชายแดนภาคใต้โดยเร็ว ความก้าวหน้าในการดำเนินการ • การเพิ่มประสิทธิภาพภาครัฐ • การบูรณาการการบริหารจัดการเชิงพื้นที่ • การบริหารจัดการองค์ความรู้ภาครัฐ • เร่งแก้ไขปัญหาความไม่สงบและนำสันติสุขกลับสู่จังหวัดชายแดนภาคใต้โดยเร็ว • การดำเนินการก่อนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนปี 2558 การบริหารภาครัฐที่สมดุลและมีประสิทธิภาพ Area based • ระดับพื้นที่ (กลุ่มจังหวัด/จังหวัด) • ระดับประเทศ ยุทธศาสตร์ Agenda based

  21. การบรูณาการการบริหารราชการเชิงพื้นที่การบรูณาการการบริหารราชการเชิงพื้นที่ สถานการณ์ บริบทการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อท้องถิ่น จังหวัด/กลุ่มจังหวัด/ประเทศ ดังนั้นต้องปรับปรุงยุทธศาสตร์ชาติ แผนจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และแผนท้องถิ่น การเปลี่ยนแปลงระดับโลก การเปลี่ยนแปลงในประเทศ การรวมตัวทางเศรษฐกิจในภูมิภาค มิติเศรษฐกิจ โลกเปลี่ยนศูนย์กลางอำนาจมาอยู่ที่เอเชียมากขึ้น (อาชีพ รายได้ ความมั่นคงอาหาร ฯลฯ) ตลาดการเงินโลกมีความผันผวน&เสี่ยงมากขึ้น (การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ความสัมพันธ์ในครอบครัว ฯลฯ) ประชากรสูงอายุของโลกเพิ่มขึ้นรวดเร็ว ศักยภาพ/โอกาสเชิงพื้นที่ มิติสังคม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี มิติทรัพยากรฯ&สวล. แนวโน้มปัญหาความมั่นคงด้านพลังงาน (ทรัพยากร สภาพภูมิอากาศ ฯลฯ) ปัญหาภัยคุกคามจากภาวะโลกร้อน มิติความมั่นคง 21 (วัฒนธรรมประชาธิปไตย ความขัดแย้ง ปัญหาชายแดน ฯลฯ)

  22. การจัดทำตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัดการจัดทำตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัด

  23. ความจำเป็นในการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดความจำเป็นในการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด • การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ตั้งแต่ปี 2553 มีการพัฒนามาโดยลำดับ และมีทิศทางชัดเจนขึ้น แต่จังหวัดยังขาดการวิเคราะห์ข้อมูลในลักษณะเชื่อมโยงระหว่างพื้นที่จังหวัดกับตัวชี้วัดในภาพรวมของประเทศ • กรอบวงเงินของจังหวัดมีจำกัด จึงขาดพลังขับเคลื่อนในการแก้ปัญหาขนาดใหญ่ หรือการเสริมศักยภาพอย่างจริงจัง ที่ผ่านมายังไม่ได้ใช้หลัก AFP บูรณาการ ระหว่างจังหวัดกับหน่วยงาน (Function)เพื่อให้การพัฒนามีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และตอบสนองความต้องการของประชาชนในพื้นที่ ได้อย่างแท้จริง • นอกจากนี้ ยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัดในปัจจุบัน ยังไม่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ประเทศเท่าที่ควร และยังไม่ได้ดึงปัญหาสำคัญและศักยภาพ หรือจุดเด่นของจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดมาสร้างการเจริญเติบโต และความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของประชาชน • จึงมีความจำเป็นต้องทบทวนการจัดทำยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด และจัดทำตัวชี้วัดการพัฒนาระดับจังหวัดที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน เพื่อบ่งชี้ถึงศักยภาพและปัญหาของจังหวัดให้มีความชัดเจนมากขึ้นรวมทั้งตอบโจทย์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 Country Strategy ASEAN Strategy และแผนการลงทุนขนาดใหญ่ของรัฐบาลได้ดีขึ้น และใช้เป็นแนวทางให้กระทรวง กรม จัดทำแผนงาน/โครงการสนับสนุนให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด 23

  24. วัตถุประสงค์ เพื่อให้จังหวัดนำตัวชี้วัดและประเด็นการพัฒนาระดับประเทศที่เกี่ยวข้องไปวิเคราะห์หาศักยภาพและปัญหาที่แท้จริงของจังหวัดเพื่อใช้ประกอบการทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด เพื่อให้จังหวัดดำเนินการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด ให้มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาและศักยภาพของพื้นที่ และมีความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ประเทศและนโยบายรัฐบาล สร้างกระบวนการให้กระทรวง กรม มีส่วนร่วมในการพัฒนาตัวชี้วัด และมีส่วนร่วมในการทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด เพื่อนำไปสู่การสนับสนุนและบูรณาการแผนงาน/โครงการตามความต้องการของจังหวัด 24

  25. แนวทางการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด 4 ขั้นตอน Step I PPIR พัฒนาดัชนีชี้วัดระดับจังหวัด (Provincial Performance Index/Ranking – PPIR) การวิเคราะห์ SWOT (SWOT Analysis) การจัดทำยุทธศาสตร์(Strategy Formulation) การติดตามและประเมินผลการพัฒนา (Monitoring & Evaluation) Step II Step IV Monitoring & Evaluation Step III Strategy Formulation 25

  26. อัตราการขยายตัว GPP เฉลี่ย 5 ปี (2550-2554) (ร้อยละ) ตัวอย่าง 3) มหาสารคาม เฉลี่ยร้อยละ 4.5 เติบโตจากภาคเกษตรและภาคบริการ 4) ยโสธร เฉลี่ยร้อยละ 3.8 เติบโตจากภาคเกษตรข้าว และอ้อย 5) นครนายก เฉลี่ยร้อยละ 3.2 เติบโตจากภาคเกษตรและท่องเที่ยว การเติบโตของ GPP เฉลี่ย 5 ปี 1) มุกดาหาร เฉลี่ยร้อยละ 6.3 เติบโตมาจากภาคเกษตร ยางพารา และการค้าชายแดน 2) บุรีรัมย์ เฉลี่ยร้อยละ 4.7 เติบโตจากภาคเกษตรโดยเฉพาะยางพารา 26

  27. ค่าเฉลี่ยของประเทศ 13.15 % สัดส่วนคนจน 1) บุรีรัมย์ ร้อยละ 33.69 ประชาชนส่วนใหญ่อยู่ในภาคเกษตร ขาดที่ทำกิน 2) ยโสธร ร้อยละ 32.58 ประชาชนส่วนใหญ่อยูในภาคเกษตร น้ำท่วมน้ำแล้งซ้ำซาก 3) นครนายก ร้อยละ 13.14 ประชาชนมีอาชีพเกษตร พืชสวน และท่องเที่ยว 4) มหาสารคาม ร้อยละ 12.94 ประชาชนอยู่ในภาคเกษตรแต่มีชลประทานบางส่วน 5) มุกดาหาร ร้อยละ 9.97 ประชาชนมีโอกาสด้านการค้า และบริการท่องเที่ยว 27

  28. ตัวอย่าง อัตราเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ 1) มหาสารคาม เพิ่มขึ้นร้อยละ 49.78 แต่สภาพพื้นที่ป่าเหลือน้อยมาก 2) บุรีรัมย์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.21 แต่สภาพป่าเหลือน้อย 3) นครนายก ลดลงร้อยละ 0.50 สภาพป่าเหลือน้อย 4) มุกดาหาร ลดลงร้อยละ 1.56 มีการบุกรุกป่า สภาพป่าเหลือน้อย 5) ยโสธร ลดลงร้อยละ 4.33 มีการบุกรุกป่า ป่าเสื่อมโทรม สภาพป่าเหลือน้อยมาก 28

  29. การเข้าถึงน้ำประปา ตัวอย่าง ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงน้ำประปา (ข้อมูลของ กปน. และ กปภ. ณ ธันวาคม 2555) ค่าเฉลี่ยประเทศ 20.41% หมายเหตุ ไม่รวมการให้บริการขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น เทศบาล อบต.อบจ. และหมู่บ้าน ที่มา: กปน. และ กปภ. 3) มุกดาหาร ร้อยละ 12.90 ส่วนใหญ่ใช้น้ำประปา อปท. 5) บุรีรัมย์ ร้อยละ 12.55 ส่วนใหญ่ใช้น้ำประปา อปท. 5) ยโสธร ร้อยละ 12.16 ส่วนใหญ่ใช้น้ำประปา อปท. ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงน้ำประปา (ประปาภูมิภาค) 1) นครนายก ร้อยละ 20.13 ใกล้เคียงค่าเฉลี่ยของประเทศ 2) มหาสารคาม ร้อยละ 13.69 ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ ส่วนใหญ่ใช้น้ำประปา อปท. 29

  30. เปลี่ยนเป็น 6 ตัวชี้วัดย่อย : (1) ร้อยละของประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเบาหวาน (2) ร้อยละของประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง (3) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี(4) ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี (5) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการดูแลรักษา/ส่งต่อ (6) ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการดูแลรักษา/ส่งต่อ

  31. ตัวอย่าง ภาพรวมตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม 32

  32. ขั้นตอนการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดขั้นตอนการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด 33

  33. สรุปผลการทบทวนยุทธศาสตร์และการจัดทำตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัด 5 จังหวัดนำร่อง • ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพมากขึ้น • มีการปรับปรุงวิธีการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด โดยใช้หลักการทางวิชาการมากขึ้น โดยเฉพาะการให้ความสำคัญกับการวิเคราะห์ข้อมูลตัวชี้วัดที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และสามารถเชื่อมโยงกับตัวชี้วัดในภาพรวมของยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ • สร้างกระบวนการจัดทำแผนที่มีการบูรณาการระหว่างจังหวัดกับหน่วยงานฟังก์ชั่น การดำเนินงานในระยะต่อไป (ผลการประชุมหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวงที่ หัวหิน 9 สิงหาคม 2556 ) 1)ทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด 71 จังหวัดที่เหลือโดยเห็นควรให้ มท. สศช. และ กพร. ร่วมกันดำเนินการ workshop : รอบที่ 1 : ชี้แจงแนวทางพร้อมกัน 71 จังหวัด ณ กทม. แล้วให้กลับไปดำเนินการทบทวนแผนให้แล้วเสร็จ ภายใน 2 สัปดาห์ รอบที่ 2 : จังหวัดนำเสนอผลการทบทวนแผน นรม. รัฐมนตรี ผู้แทนกระทรวง กรม ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันให้ข้อคิดเห็น ดำเนินการแยกรายภาค หลังจากนั้นจัดทำรายละเอียดตามขั้นตอนของ กนจ. โดยหน่วยงานกลาง (สศช.กพร.สงป. มท.) ให้การสนับสนุน 2) ปรับปรุงตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัด ให้สอดคล้องกับข้อเท็จจริง และสามารถวัดการพัฒนา ได้อย่างถูกต้อง อาทิ green growth :พื้นที่ป่าไม้และพื้นที่สีเขียว ปริมาณขยะและความสามารถในการกำจัดขยะที่ถูกวิธี การประหยัดพลังงาน government efficiency : ดัชนีจำนวนครั้งที่ไฟฟ้าขัดข้อง SAIFI (System Average Interruption Frequency Index) 3)กำหนดรูปแบบเอกสารการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดและตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัด เพื่อให้จังหวัดนำไปเป็นต้นแบบในการดำเนินการต่อไป 34

  34. รูปแบบเอกสารนำเสนอ การทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด • องค์ประกอบเอกสาร การนำเสนอ การทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด มีดังนี้ • ภาพรวมตัวชี้วัดการพัฒนา • ตัวชี้วัดพร้อมคำอธิบาย • SWOT • วัตถุประสงค์ (Objective) และเป้าหมาย ที่จะดำเนินการในแต่ละปี • ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน/โครงการ • Action Plan 35

  35. จังหวัด.............: ภาพรวมตัวชี้วัดการพัฒนา ตัวอย่าง 36

  36. จังหวัด............... : การทบทวนข้อมูลตัวชี้วัด ตัวอย่าง 37

  37. จังหวัด............... : ผลการทบทวนสภาวะแวดล้อม (SWOT) ตัวอย่าง • ขาดการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร • ขาดการบริหารจัดการด้านการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวแบบประชากรส่วนใหญ่ยากจน ขาดโอกาสทางการศึกษา และการเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขที่มีคุณภาพ • ป่าไม้และทรัพยากรธรรมชาติมีแนวโน้มลดลงจากการบุกรุกทำลาย • ไม่มีระบบป้องกันน้ำท่วม และระบบกักเก็บน้ำในฤดูแล้ง • ไม่มีเส้นทางเลี่ยงเมืองทางทิศใต้ • การจัดระเบียบการจราจรบริเวณมีความแออัด • การเข้าถึง IT น้อย และผลิตภาพแรงงานต่ำ S W • เป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตร(ข้าว มันสำปะหลัง ยางพารา อ้อย และปศุสัตว์) • มีข้อได้เปรียบทางด้านภูมิศาสตร์ เป็นประตูสู่ประเทศอินโดจีน ตามเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจ ตะวันตก-ตะวันออก: EWEC • มีทรัพยากรธรรมชาติแหล่งท่องเที่ยวที่หลากหลาย • มีขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามเป็นเอกลักษณ์ เช่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม พื้นเมือง 8 เผ่า • มีโรงงานแปรรูปผลผลิตการเกษตรรองรับ • อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจสูง • การเปิดใช้สะพานข้ามแม่น้ำโขง แห่งที่2 มุกดาหาร-สะหวันนะเขตและข้อตกลง ด้านการคมนาคมขนส่งทางถนนระหว่าง ไทย-ลาว-เวียดนาม สามารถเชื่อมโยงการคมนาคมขนส่งในอนุภูมิภาค • การสถาปนาความสัมพันธ์เมืองแฝดสามระหว่าง มุกดาหาร - สะหวันนะเขต (ลาว) - กวางตริ (เวียดนาม) เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือ • นโยบายการเปิดเสรีทางการค้ากับจีนและประเทศภูมิภาคอินโดจีน • นโยบายของรัฐบาลให้ความสำคัญในการพัฒนาด้านพลังงาน โครงสร้างพื้นฐาน ด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในระดับพื้นที่ • ศูนย์การศึกษาอาเซียน O T • การแข่งขันด้านการตลาดสินค้าจากประเทศเพื่อนบ้าน เช่น สินค้าการเกษตร สินค้าสิ่งทอราคาถูกจากจีน เวียดนาม • ข้อจำกัดด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ระหว่างประเทศที่ยุ่งยาก ซับซ้อน ไม่เอื้ออำนวย ต่อการค้าการลงทุน และการท่องเที่ยว • มีปัญหาการลักลอบเข้าเมือง สินค้าหนีภาษี ของผิดกฎหมาย ยาเสพติด แรงงาน ต่างด้าว ตามแนวชายแดน • ประเทศเวียดนามมีการตั้งโรงกลั่นน้ำมันขนาด วันละ 600,000 บาเรล ทำให้มีผลกระทบต่อการส่งออกสินค้าพลังงาน 38

  38. ตัวอย่าง วัตถุประสงค์ (Objective) วิสัยทัศน์:เมืองการค้า การเกษตร การท่องเที่ยวชายโขง เชื่อมโยงอาเซียน • สร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยเน้นการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ในภาคเกษตร การค้าชายแดน และการท่องเที่ยว • เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและสร้างความมั่นคงทางสังคมให้ทั่วถึงรวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความมั่นคงบริเวณชายแดน • เพื่ออนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน • ยุทธศาสตร์ • ยุทธศาสตร์ที่ 1 :การพัฒนาเกษตรกรรม และอุตสาหกรรมการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า • ยุทธศาสตร์ที่ 2 :การพัฒนาการค้าชายแดนเพื่อเพิ่มมูลค่าและยกระดับความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน • ยุทธศาสตร์ที่ 3 :การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวเพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชน • ยุทธศาสตร์ที่ 4 :การพัฒนาคนและสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต • ยุทธศาสตร์ที่ 5 :การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นฐานการพัฒนาอย่างยั่งยืน • ยุทธศาสตร์ที่ 6 :การเสริมสร้างความมั่นคงชายแดน 39

  39. ตัวอย่าง การกำหนดวัตถุประสงค์ และเป้าหมายในแต่ละปี

  40. ตัวอย่าง การกำหนดวัตถุประสงค์ และเป้าหมายในแต่ละปี

  41. ตัวอย่าง การกำหนดวัตถุประสงค์ และเป้าหมายในแต่ละปี หมายเหตุ : การกำหนดค่าเป้าหมายควรพิจารณาจากเป้าหมายของประเทศ เทียบเคียงกับเกณฑ์มาตรฐานของหน่วยงาน รวมทั้งศักยภาพของจังหวัดโดยพิจารณาจากฐานข้อมูลของจังหวัดในช่วงที่ผ่านมา

  42. ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ตัวอย่าง 43

  43. จังหวัด................. ตัวอย่าง 44

  44. จังหวัด.................... ตัวอย่าง 45

  45. แผนปฏิบัติการประจำปี ............................. จังหวัด...................... ตัวอย่าง • ยุทธศาสตร์ :…………………………………………………………………………… * หมายเหตุ : แผนปฏิบัติการนี้ควรรวมทั้งแผนงาน/โครงการที่เสนอของบประมาณและที่ไม่จำเป็นต้องเสนอของบประมาณในการดำเนินการ อาทิเช่น แผนงาน/โครงการที่ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนดำเนินการเองได้ 46

  46. แผนงาน : โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตข้าว ตัวอย่าง ต้นน้ำ : การผลิต กลางน้ำ : การแปรรูป ปลายน้ำ : การตลาด Value Chain ส่งเสริมการผลิต ข้าวหอมมะลิปลอดภัย และได้มาตรฐาน GAP ส่งเสริมการสร้างตราสินค้า และบรรจุภัณฑ์สินค้าข้าวชุมชน เชื่อมโยงเครือข่าย ด้านการตลาดสินค้า ข้าวคุณภาพของ จังหวัดมุกดาหาร กิจกรรมหลัก อบรมอาสาสมัครเกษตร (GAP) อาสา สร้างตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ข้าว ชุมชน เพิ่มช่องทางการตลาด กิจกรรมย่อย อบรมเกษตรกรตามกระบวนการ โรงเรียนเกษตร สนับสนุนปัจจัยการผลิต (เมล็ดข้าวหอมมะลิ,เมล็ดปุ๋ยพืชสด) 47

  47. ขอบคุณ www.nesdb.go.th

More Related