300 likes | 511 Views
บทบาทของศูนย์วิชาการในการสนับสนุน การบริหารจัดการเขตสุขภาพเครือข่ายบริการที่ ๖. น.พ วิศิษฎ์ ตั้งนภากร ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตบริการสุขภาพที่ ๖. การพัฒนากระทรวงสาธารณสุข. การกำหนดบทบาท 3 ส่วนให้ชัดเจน National Health Authority (NHA) & Regulator Purchaser หมายถึง สปสช .
E N D
บทบาทของศูนย์วิชาการในการสนับสนุนบทบาทของศูนย์วิชาการในการสนับสนุน การบริหารจัดการเขตสุขภาพเครือข่ายบริการที่ ๖ น.พ วิศิษฎ์ ตั้งนภากร ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตบริการสุขภาพที่ ๖
การพัฒนากระทรวงสาธารณสุขการพัฒนากระทรวงสาธารณสุข • การกำหนดบทบาท 3 ส่วนให้ชัดเจน • National Health Authority (NHA) & Regulator • Purchaser หมายถึง สปสช. • Provider หมายถึงเครือข่ายบริการและหน่วยบริการ
การพัฒนากระทรวงสาธารณสุขการพัฒนากระทรวงสาธารณสุข 2. การพัฒนาบทบาท NHA ของ กสธ. เบื้องต้นได้กำหนด “เป้าหมาย” ในรูป KPI ระดับกระทรวง ซึ่งปี 57 มี 50 ตัว 3. พัฒนารูปแบบการทำงานร่วมกันระหว่าง กสธ. และ สปสช. โดยใช้ PP model เป็นตัวอย่างนำร่อง
การพัฒนากระทรวงสาธารณสุขการพัฒนากระทรวงสาธารณสุข • 4. การพัฒนาบทบาท ผู้ให้บริการ (Provider) • การจัด “เขตบริการสุขภาพ” 12 เขต ปกค. ผตร. CEO.คกก. & สำนักงานเขตสุขภาพ • จัดทำ “Service plan” ในแต่ละเขตบริการสุขภาพ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาระบบบริการ ปกด.แผนพัฒนา 10 สาขา แผน พบส. แผนลงทุนปี 2558 -2560 และแผนบุคลากร • กำหนดให้ทุกเขตจัดทำ “แผนสุขภาพเขต”เป็นครั้งแรก ปกค. แผนบริหารจัดการ แผนบริการ และแผนส่งเสริมป้องกันโรค • รูปแบบการทำงาน “บริหารงานร่วม” ปกด งานบริการ บริหารงบประมาณ/กำลังคน งานจัดซื้อ
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงการทำงานกระทรวงสาธารณสุขข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงการทำงานกระทรวงสาธารณสุข คณะกรรมการนโยบายระบบสาธารณสุข(PHSPB) กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานรัฐมนตรี สำนักงานบริหารยุทธศาสตร์/ยกระดับ สนย. สำนักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุข กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการแพทย์ กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการสาธารณสุข กลุ่มภารกิจด้าน สนับสนุนงานบริการสุขภาพ คณะกรรมการ เขตสุขภาพ(AHB) • หน่วยงานในกำกับ : • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข • สำนักงานสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ • สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ • สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ • สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ • องค์การมหาชน : • โรงพยาบาลบ้านแพ้ว • สถาบันรับรองคุณภาพ • สถานพยาบาล • รัฐวิสาหกิจ : • องค์การเภสัชกรรม
ข้อเสนอพัฒนา(ปฏิรูป)บทบาทกระทรวงสาธารณสุขข้อเสนอพัฒนา(ปฏิรูป)บทบาทกระทรวงสาธารณสุข 1.ระบบบริการสุขภาพ 2.ระบบการสร้างเสริม สุขภาพ แพทย์ แผนไทย สบส. สุขภาพจิต อนามัย สป. กรมแพทย์ อย. วิทย์ฯ ควบคุมโรค 4. ระบบยาและการคุ้มครองผู้บริโภค 3. ระบบการควบคุมและป้องกันโรค 11 บทบาท+ เขตสุขภาพ
ข้อเสนอพัฒนา(ปฏิรูป)บทบาทกระทรวงสาธารณสุขข้อเสนอพัฒนา(ปฏิรูป)บทบาทกระทรวงสาธารณสุข 1.ระบบบริการสุขภาพ 2.ระบบการสร้างเสริม สุขภาพ แพทย์ แผนไทย สบส. สุขภาพจิต อนามัย สป. กรมแพทย์ อย. วิทย์ฯ ควบคุมโรค 4. ระบบยาและการคุ้มครองผู้บริโภค 3. ระบบการควบคุมและป้องกันโรค
เขตการปกครอง 8 จังหวัด 69 อำเภอ 530 ตำบล 4,816 หมู่บ้าน 213 เทศบาล 369อบต. พื้นที่ปกครองพิเศษ เมืองพัทยา • ประชากร 5,689,079 คน • ชาย 2,791,938คน • หญิง 2,897,141คน • หลังคาเรือน 2,577,921 หลัง • พื้นที่ 35,409ตร.กม. • ความหนาแน่น 161 คน/ตร.กม. ที่มา : ทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธ.ค.55
ชลบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา เครือข่ายบริการที่ 6 สมุทรปราการ จันทบุรี ตราด ระยอง ปราจีนบุรี
เขตบริการสุขภาพที่ 6 วิสัยทัศน์ (Vision) “ประชาชนในเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6 มีสุขภาพดี เศรษฐกิจมั่นคง ภายในปี 2565” “Good health and Good wealth of region 6 people by the year 2022” เป้าประสงค์ (Goal) • ระบบบริการสุขภาพมีคุณภาพ มีความเชื่อมโยงและบูรณาการ • ระบบบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ • ภาคีเครือข่ายสุขภาพมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ค่านิยมร่วม (Share Value) ทำงานเป็นทีม ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง
เป้าหมาย(Goal • 1 อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี • 2 อายุเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 72 ปี • ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ
KPI กระทรวงสาธารณสุข เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ KPI กระทรวง KPI กรม KPI เขต KPI จังหวัด แผนงานแก้ไขปัญหา การตรวจราชการนิเทศงาน การจัดสรรงบประมาณ การกำกับ ประเมินผล
ระบบงบประมาณที่ใช้ในเขตสุขภาพระบบงบประมาณที่ใช้ในเขตสุขภาพ สปสช. กรม สป กรม PPNP บูรณาการ MOU 8 Flagships สปสช.เขต MOU (BS, NP) (NP) เขต สธ. PPA งบ UC งบ สธ. Non UC แผนยุทธ กำกับติดตาม จังหวัด PPA BS, NP, AH อำเภอ PPE
PPMODEL แผนสุขภาพเขต/จังหวัด การบริหารงบประมาณแบบบูรณาการ กระบวนการนำแผนสู่การปฏิบัติ
กรอบงานส่งเสริมป้องกัน ตามลักษณะงาน National Programs Health Promotion & Prevention Area Health Basic Services
องค์ประกอบของแผนงานส่งเสริมป้องกันกลุ่มวัยองค์ประกอบของแผนงานส่งเสริมป้องกันกลุ่มวัย แผนสุขภาพทารก 0-2 ปี แผนคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/มะเร็ง เต้านม แผนสุขภาพผู้สูงอายุ แผนสตรีตั้งครรภ์คุณภาพ แผนสุขภาพเด็กปฐมวัย 3-5 ปี แผนสุขภาพเด็กวัยเรียน (6-12 ปี) และเยาวชน แผนสุขภาพวัยรุ่น แผนป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กให้บริการหญิงตั้งครรภ์ที่พึงได้รับ -นมแม่ -พัฒนา 4 ด้าน -การเจริญเติบโต -รูปร่าง/ส่วนสูง -สุขภาพช่องปาก -วัคซีน เด็กปฐมวัยมีคุณภาพและบทบาทพ่อ-แม่ในการเลี่ยงดูแลปฐมวัย -พัฒนาการ4ด้าน -การเจริญเติบโต -รูปร่าง/ส่วนสูง -สุขภาพช่องปาก -วัคซีน การเข้าถึงกลุ่มวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยง -เพศสัมพันธุ -บุรี แอลกอฮอล์ -ยาเสพติด -พฤติกรรมอารมณ์ คลินิก NCDคุณภาพ (ขยายความครอบคลุมการตรวจภาวะแทรกซ้อน มะเร็งเต้านม -การตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง -การสร้างความตระหนักผ่านสื่อและการประเมิน ดูแลผู้สูงอายุคุณภาพ -เบาหวาน/ ความดัน -โรคซึมเศร้า -เข่าเสื่อม -สุขภาพช่องปาก เด็กนักเรียนมีคุณภาพ 4 ด้าน -พัฒนาการ4ด้าน -เจริญเติบโต รูปร่าง/ส่วนสูง -สุขภาพช่องปาก -วัคซีน คลินิก NCD คุณภาพ (ครอบคลุมการตรวจภาวะแทรกซ้อน) สถานบริการANC&LR คุณภาพ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ คลินิกบริการผู้สูงอายุ คลินิกวัยรุ่น WCC คุณภาพ การเข้าถึงบริการของหญิงตั้งครรภ์ ส่งเสริมบทบาทครอบครัวพ่อ- แม่ชุมชน พัฒนาคุณภาพศูนย์เด็กเล็ก สร้างระบบการดูแลช่วยเหลือ วัยรุ่น เริ่มที่โรงเรียน ลดปัจจัยเสี่ยง ปชก/ชุมชน แกนนำชุมชน อสม เข้มเข็ง อำเภอ/ตำบล80/ยังแจ๋ว
โครงสร้างแผนงานเขตสุขภาพปี 57 บริการ สส ปก บริหาร สุขภาพสตรี เด็ก 0-5+ BS พัฒนาบริการ 10 สาขา การเงินการคลัง พัฒนาระบบส่งต่อ สุขภาพเด็กนักเรียน + BS การบริหารกำลังคน-จริยธรรม คุณภาพบริการ สุขภาพวัยรุ่น + BS ระบบข้อมูล การแพทย์ฉุกเฉิน/อุบัติภัย การบริหารเวชภัณฑ์ สุขภาพวัยทำงาน + BS ยาเสพติด พัฒนาประสิทธิภาพซื้อ/จ้าง ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ โครงการพระราชดำริ สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ การควบคุมโรคติดต่อ แผนสุขภาพเขต อาหารปลอดภัย (๒๐ แผน) การมีส่วนร่วมภาคประชาชน
แผนงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแผนงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค สตรี เด็ก 0-5 ปี • อัตราส่วนมารดาตายไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน • 2. ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่า 85 เด็กนักเรียน 5-14 ปี • ร้อยละของเด็ก นร. มีภาวะอ้วนไม่เกิน 15 • เด็กไทยมีความฉลาดทางปัญญาเฉลี่ยไม่น้อยกว่า100 คะแนน เด็กวัยรุ่น 15 -21 ปี • อัตราคลอดในมารดาอายุ 15-19 ปี ไม่เกิน 50 ต่อ ปชก 15-19 ปี 1000 คน • ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอล์ในปชก 15-19 ปี ไม่เกิน 13 • 15-19 ปี 1000 คน • อัตราตายอุบัติเหตุทางถนนไม่เกิน 13 ต่อ ปชก. แสนคน • อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจไม่เกิน 20 ต่อปชก.แสนคน วัยทำงาน • อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจไม่เกิน 20 ต่อปชก.แสนคน • ผู้พิการทางการเคลื่อนไหวได้รับบริการครบถ้วน 100% ภายใน 3-5 ปี ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค เน้น approach 5 กลุ่มวัย วัยทำงาน ผู้สูงอายุ เด็กปฐมวัย เด็กวัยรุ่น เด็ก& สตรี ก่อนคลอด ดูพัฒนาการเด็ก (WCC), ควบคุม ป้องกัน(Vaccine) ปรับเปลี่ยน พฤติกรรม (Teenage pregnancy/ ลดอ้วน/ จมน้ำ) ป้องกันและลด ปัญหา (NCD/ HIV/อุบัติเหตุ) สุขภาพจิต ผู้สูงอายุ (โรคซึมเศร้า) หลังคลอด (ANC/การคลอด/ ตกเลือด)
แผนบูรณาการเชิงรุก เห็นทิศทางในภาพรวม แผนยุทธศาสตร์ เน้นปัญหาสำคัญ จัดกลุ่มปัญหา/บูรณาการ แผนแก้ปัญหา แต่ละปัญหามีกลยุทธ์/งบประมาณชัดเจน มาตรการชัดเจน แผนปฏิบัติ งบประมาณตามกิจกรรม กิจกรรม
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคปี 57 • อิงแนวทางร่วม สธ –สปสช (PPModel) 2. จาก KPI ยุทธศาสตร์ 44 ตัว(PP10) และ KPI เขตสู่การปฏิบัติที่บูรณาการโดยยึดประชากร กลุ่มวัยเป็นตัวตั้ง ส่วนกลางควรวาง“กรอบ แผนงานส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัย” 5 แผนงาน หลักที่มีองค์ประกอบของงานครบถ้วน
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคปี 57 3. พัฒนาพื้นฐานของระบบข้อมูลสารสนเทศด้าน สุขภาพ 4. สร้างกลไกการตรวจราชการและ M&E ผลการ ดำเนินงานของเขตบริการสุขภาพ
บทบาทของศูนย์วิชาการ 1. วิเคราะห์/เสนอแนะ/ผลักดัน ทิศทาง นโยบาย ยุทธศาสตร์ ที่เหมาะสมกับสถานการณ์และบริบทสังคมไทย 2. ทบทวน/วิเคราะห์/สังเคราะห์/ประยุกต์ องค์ความรู้ จากงานวิจัยและความเป็นจริงในพื้นที่
บทบาทของศูนย์วิชาการ • จัดทำ แผนงานที่สำคัญ พร้อม มาตรการแก้ไขปัญหา ที่ชัดเจนสามารถเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ แผนงานประเทศ กับการแก้ปัญหาระดับพื้นที่เป็นเนื้อเดียวกัน 4. สร้าง ความเข้มแข็ง/ศักยภาพการทำงาน ระดับจังหวัดและพื้นที่ ตลอดจน การกำกับ ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงาน
คาดหวังด้านวิชาการ : ศูนย์วิชาการ • ควรเป็นเหมือนเรดาร์ของเขต … • ABILITY + MOTIVATION • เป็นศูนย์ข้อมูลของเขตพื้นที่ • - รวบรวมข้อมูล(ทุกจังหวัด) / สถานการณ์ ... • เป็นปัจจุบัน + เชื่อมกับพื้นที่ พร้อมใช้ • - INPUT ข้อมูลให้ผู้บริหารรับทราบเป็นระยะ • เป็นส่วนหนึ่งของ REGULATOR BOARD
ความคาดหวังด้านวิชาการ : บุคคล • - performance ดี มีวิชาการ ท่าทีเป็นมิตร • รู้วิธี approach ภาคี • รอบรู้ KPI template ... ความหมาย ที่มาที่ไป • รู้ข้อมูลสถานการณ์โลก ประเทศ พื้นที่ • สามารถวิเคราะห์ สรุป นำเสนอ กระชับ ตรงประเด็น • มีเรื่องราวดีๆ ไปแลกเปลี่ยนกับพื้นที่ • เป็น coacher สามารถประเมิน situation และบอกพื้นที่ได้ว่า อยู่ในลำดับที่เท่าไร ของเขต ของประเทศ • ท้ายสุดต้องรู้เท่าทันสถานการณ์ที่ปรับเปลี่ยน