900 likes | 2.26k Views
แนวทางการดำเนินโครงการอนุรักษ์การได้ยิน ในสถานประกอบการ. นพ.โภคิน ศักรินทร์กุล โรงพยาบาลลำพูน. ที่มาและความสำคัญ. ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2553. สิ่งที่ต้องดำเนินการ.
E N D
แนวทางการดำเนินโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบการแนวทางการดำเนินโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบการ นพ.โภคิน ศักรินทร์กุล โรงพยาบาลลำพูน
ที่มาและความสำคัญ ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2553
สิ่งที่ต้องดำเนินการ • Time Weighted Average (TWA) 8 hr >= 85 dB(A) • ลายลักษณ์อักษร • นโยบายอนุรักษ์การได้ยิน • การเฝ้าระวังเสียงดัง (Noise Monitoring) • การเฝ้าระวังการได้ยิน (Hearing Monitoring) • หน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ที่เกี่ยวข้อง • ประกาศให้ทราบ ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2553
เฝ้าระวังเสียงดัง ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2553
เฝ้าระวังเสียงดัง • สำรวจและตรวจวัดระดับเสียง • ศึกษาระยะเวลาสัมผัสเสียงดัง • ประเมินการสัมผัสเสียงดัง • แจ้งให้ลูกจ้างทราบ
ประเมินการสัมผัสเสียงดังประเมินการสัมผัสเสียงดัง • ต้องคำนวณปริมาณเสียง
มาตรฐานระดับเสียงที่ยอมให้ลูกจ้างได้รับตลอดเวลาการทำงานในแต่ละวันมาตรฐานระดับเสียงที่ยอมให้ลูกจ้างได้รับตลอดเวลาการทำงานในแต่ละวัน กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2549
Pitfall 1 • ไม่ได้คำนวณนอกเหนือจากตาราง เช่น ทำงาน 10 ชั่วโมง กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2549
Pitfall 1คำนวณปริมาณเสียง (using Excel)
Pitfall 2 • เสียงกระแทก รวมแล้วไม่เกิน แต่บางช่วงมีเสียงดัง ACGIH อ้างใน สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการเผ้าระวังการสูญเสียการได้ยิน. นนทบุรี: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2547.p 29.
เฝ้าระวังเสียงดัง • Time Weighted Average (TWA) • แบ่งกลุ่มแผนกเป็น 3 กลุ่ม • กลุ่มที่ 1 TWA < 85 dB(A) • กลุ่มที่ 2 TWA 85-139 dB(A) • กลุ่มที่ 3 TWA >= 140 dB(A) • แต่ละกลุ่มดำเนินการแตกต่างกัน สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการเผ้าระวังการสูญเสียการได้ยิน. นนทบุรี: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2547.
กลุ่มที่ 1 TWA < 85 dB(A) • เฝ้าระวังเสียงดังเพียงอย่างเดียว • ตรวจประเมินเสียงอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง • ทำเมื่อ • มีการรับลูกจ้างใหม่ • มีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการเผ้าระวังการสูญเสียการได้ยิน. นนทบุรี: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2547.
กลุ่มที่ 2 TWA 85-139 dB(A) • ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อควบคุมเสียงดัง • จัดกิจกรรมการเฝ้าระวังสุขภาพลูกจ้างที่ปฏิบัติงานในแผนกนั้น สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการเผ้าระวังการสูญเสียการได้ยิน. นนทบุรี: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2547.
กลุ่มที่ 3 TWA >= 140 dB(A) • Impact or Impulse noise • ประกาศห้างลูกจ้างเข้าปฏิบัติงานในแผนก • จนกว่าจะมีการควบคุมเสียงดังให้อยู่ในความปลอดภัย สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการเผ้าระวังการสูญเสียการได้ยิน. นนทบุรี: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2547.
เฝ้าระวังเสียงดัง = กลุ่ม 2 และ 3 • จัดทำ • นโยบายอนุรักษ์การได้ยิน • การเฝ้าระวังเสียงดัง (Noise Monitoring) • การเฝ้าระวังการได้ยิน (Hearing Monitoring) • หน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ที่เกี่ยวข้อง
เฝ้าระวังสุขภาพ (เฝ้าระวังการได้ยิน)
เฝ้าระวังสุขภาพ (เฝ้าระวังการได้ยิน) • ปัญหาที่พบ • ไม่ได้ตรวจ Baseline Audiogram • ตรวจแต่ไม่ครบทุกความถี่ • ไม่มีผลแยกความถี่เก็บไว้ที่บริษัท
Pitfall 3Baseline Audiogram ผิดปกติ • หูข้างใดข้างหนึ่ง • 500, 1000, 2000, 3000 Hz > 25 dB • 4000, 6000 Hz > 45 dB • หูสองข้างแตกต่างกัน • 500, 1000, 2000 Hz > 15 dB • 3000, 4000, 6000 Hz > 30 dB สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการเผ้าระวังการสูญเสียการได้ยิน. นนทบุรี: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2547.
เฝ้าระวังสุขภาพ (เฝ้าระวังการได้ยิน) • แบ่งตามแผนก TWA • แบ่งเป็น 4 กลุ่ม • กลุ่มที่ 1 TWA < 80 dB(A) • กลุ่มที่ 2 TWA 80-84 dB(A) • กลุ่มที่ 3 TWA >= 85 dB(A) • แต่ละกลุ่มดำเนินการแตกต่างกัน สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการเผ้าระวังการสูญเสียการได้ยิน. นนทบุรี: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2547.
กลุ่มที่ 1 TWA < 80 dB(A) • ตรวจ Baseline audiogram ลูกจ้างใหม่ • ไม่จำเป็นต้องเฝ้าระวัง (ไม่ต้องตรวจทุกปี) • ยกเว้น • มีการรายงานการเจ็บป่วย • มีรายงานผู้ป่วยเกิดการสูญเสียสมรรถภาพ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการเผ้าระวังการสูญเสียการได้ยิน. นนทบุรี: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2547.
กลุ่มที่ 2 TWA 80-84 dB(A) • เฝ้าระวังทุก 3 ปี (ตรวจทุก 3 ปี กรณีผลปกติ) • เปรียบเทียบกับ Baseline Audiogram ทุกครั้ง • บันทึกผลการตรวจการได้ยินในสมุดบันทึกสุขภาพ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการเผ้าระวังการสูญเสียการได้ยิน. นนทบุรี: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2547.
กลุ่มที่ 3 TWA >= 85 dB(A) • เดิม1 • 85-90 dB(A) = เฝ้าระวังทุก 2 ปี (ตรวจทุก 2 ปี กรณีผลปกติ) • >= 90 dB(A)= เฝ้าระวังทุก 1 ปี (ตรวจทุก 1 ปี กรณีผลปกติ) • ใหม่2เฝ้าระวังทุก 1 ปี (ตรวจทุก 1 ปี กรณีผลปกติ) • เปรียบเทียบกับ Baseline Audiogram ทุกครั้ง • บันทึกผลการตรวจการได้ยินในสมุดบันทึกสุขภาพ 1.สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการเผ้าระวังการสูญเสียการได้ยิน. นนทบุรี: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2547. 2. ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2553
เฝ้าระวังสุขภาพ (เฝ้าระวังการได้ยิน) • เดิม1 • 500, 1000, 2000 Hz > Baseline 15 dB • 3000, 4000, 6000 Hz > Baseline 20 dB • ใหม่2> Baseline 15 dB ทุกความถี่ 1.สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการเผ้าระวังการสูญเสียการได้ยิน. นนทบุรี: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2547. 2. ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2553
เฝ้าระวังสุขภาพ (เฝ้าระวังการได้ยิน) เมื่อผิดปกติ Tip อย่าลืมคำนวณ
Pitfall 3 เปลี่ยนงานแล้วไม่ได้ตรวจสุขภาพ • กฎกระทรวง 2547 หมวด 1 ข้อ 3 วรรค 2-3 กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีตรวจสุขภาพของลูกจ้างและส่งผลการตรวจแก่พนักงานตรวจแรงงาน พ.ศ. 2547
Pitfall 4 ผลผิดปกติแล้วไม่ได้ดำเนินการต่อ • กฎกระทรวง 2547 หมวด 2 ข้อ 8-9 กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีตรวจสุขภาพของลูกจ้างและส่งผลการตรวจแก่พนักงานตรวจแรงงาน พ.ศ. 2547
การดำเนินการที่ระบุไว้ในกฎหมายการดำเนินการที่ระบุไว้ในกฎหมาย
ตอบข้อซักถาม www.lpnh.go.th หัวข้อ “ข่าวประชาสัมพันธ์ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม”