1 / 7

33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 3

33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 3. รศ.ดร.เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ สหรัฐอเมริกา 1. นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดการการเมืองแยกจากการบริหาร.

adamma
Download Presentation

33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 3

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 33701ชุดวิชาแนวคิดทฤษฎีและหลักการรัฐประศาสนศาสตร์หน่วยที่ 3 รศ.ดร.เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช แนวคิด ทฤษฎี และหลักการรัฐประศาสนศาสตร์สหรัฐอเมริกา 1

  2. นักวิชาการที่สนับสนุนแนวคิดการการเมืองแยกจากการบริหารนักวิชาการที่สนับสนุนแนวคิดการการเมืองแยกจากการบริหาร 1. Woodrow Wilson - ประเทศเจริญก้าวหน้า จะมีระบบราชการที่มี ประสิทธิภาพและมีเหตุผล - สามารถสร้างหลักการบริหารที่ดี ที่นำไปใช้กับทุก รัฐบาลได้ (one rule of good administration for all government alike) - การบริหารแยกจากการเมืองเด็ดขาด 2. Frank Goodnow - หน้าที่ทางการเมืองแยกจากหน้าที่ทางการบริหารได้ 3. Leonard D. White - การเมืองไม่ควรเข้ามาแทรกแซงการบริหาร

  3. นักวิชาการที่สนับสนุนแนวคิดการจัดการทางวิทยาศาสตร์นักวิชาการที่สนับสนุนแนวคิดการจัดการทางวิทยาศาสตร์ Frederick Taylor เสนอ “หลักการจัดการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)” ประกอบไปด้วย - ค้นหาหลักการทำงานที่เป็นวิทยาศาสตร์ ที่ได้ จากการทดลองหาวิธีที่ดีที่สุด (one best way) - การคัดเลือกคนทำงานตามกฎเกณฑ์ วิทยาศาสตร์ - การพัฒนาคนทำงานตามหลักวิทยาศาสตร์ - ให้ความสำคัญต่อการสร้างความร่วมมือในการ ทำงาน (friendly cooperation) ระหว่าง นายจ้างกับลูกจ้าง

  4. นักวิชาการที่สนับสนุนแนวคิดหลักการบริหารนักวิชาการที่สนับสนุนแนวคิดหลักการบริหาร 3. Gulick & Urwick - การประสานงานโดยกลไก การควบคุมภายใน - การจัดโครงสร้างภายใน องค์การ - หน้าที่ของฝ่ายบริหาร : POSDCORB - การประสานงานของ หน่วยงานย่อย - การประสานงานโดยการผูกมัด ทางใจ 1. Mary Parker Follet - การมองความขัดแย้งในแง่ดี - การออกคำสั่งอย่างมีศิลปะ - เรื่องขององค์กรเป็นความ รับผิดชอบของทุกฝ่าย - หลักการประสานงาน 2. Mooney & Reiley - หลักการประสานงาน - หลักลำดับขั้นการบังคับบัญชา - หลักการแบ่งงานตามหน้าที่ - หลักความสัมพันธ์ระหว่าง Line & Staff

  5. นักวิชาการที่สนับสนุนแนวคิดการบริหารคือการเมืองนักวิชาการที่สนับสนุนแนวคิดการบริหารคือการเมือง 1. Avery Leiserson – การบริหารงานของภาครัฐอยู่ท่ามกลางสภาพแวดล้อมของกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ 2. Paul Henson Appleby 1) การบริหารงานของรัฐ แท้จริงเป็นเรื่องของการเมือง 2) นักบริหารภาครัฐจะต้องเกี่ยวข้องกับการเมือง 3) ให้กลุ่มต่างๆ เข้ามาแข่งขันในการกำหนดนโยบาย สาธารณะ (Administrative Pluralism) 4) นักบริหารภาครัฐจะต้องมีจรรยาบรรณ (Administrative Platonism) 3. Norton E. Long - การบริหาร คือ การเมือง

  6. นักวิชาการที่สนับสนุนแนวคิดระบบราชการแบบไม่เป็นทางการนักวิชาการที่สนับสนุนแนวคิดระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ 1. Robert Mitchels - Goal Displacement - Iron Law of Oligarchy 2. Robert Merton - การยึดกฎระเบียบราชการ 3. Alvin A. Gouldner - บทบาทขององค์การไม่เป็นทางการ 4. Phillip Selznick - Grass-Root Democracy - Cooptation

  7. นักวิชาการที่สนับสนุนแนวคิดศาสตร์การบริหารนักวิชาการที่สนับสนุนแนวคิดศาสตร์การบริหาร 1. Chester I. Barnard : The Functions of the Executives - องค์การเกิดจากความจำเป็นที่คนมารวมกลุ่มกัน - จะต้องมีการจัดระบบความร่วมมือการทำงานในองค์การ - การดำรงอยู่ขององค์การ ขึ้นกับความสำเร็จ - ความอยู่รอดขององค์กร ขึ้นกับความสามารถของฝ่ายบริหาร - ฝ่ายบริหารจะต้องตัองตัดสินใจด้วยความรับผิดชอบภายใน กรอบศีลธรรม 2. Herbert A. Simon - เห็นว่าแนวคิดหลักการบริหาร มีความขัดแย้งกัน - หัวใจสำคัญที่สุดของการบริหาร คือ การตัดสินใจ - นักบริหารบางครั้งไม่สามารถตัดสินใจอยู่บนความมีเหตุผล สูงสุด (maximize) ได้ แต่จะต้องตัดสินใจอยู่บนข้อจำกัด ทำให้การตัดสินใจจะต้องอยู่บนเกณฑ์ความพอใจ (satisficing)

More Related