480 likes | 751 Views
การประชุม หน.สนามสอบ และ ผอ.โรงเรียน. ศูนย์สอบ สพป. นนทบุรี เขต 2 24 มกราคม 2556. วัตถุประสงค์ของการจัดสอบ O-NET. เพื่อทดสอบความรู้และความคิดของนักเรียนระดับชั้น ป.6 และ ม.3 ตามหลักสูตรฯ 2551 เพื่อนำผลการสอบไปใช้ในการปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนของโรงเรียน
E N D
การประชุม หน.สนามสอบ และ ผอ.โรงเรียน ศูนย์สอบ สพป.นนทบุรี เขต 2 24 มกราคม 2556
วัตถุประสงค์ของการจัดสอบ O-NET • เพื่อทดสอบความรู้และความคิดของนักเรียนระดับชั้น ป.6 และ ม.3 ตามหลักสูตรฯ 2551 • เพื่อนำผลการสอบไปใช้ในการปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนของโรงเรียน • เพื่อนำผลการทดสอบไปใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชาติ • เพื่อนำผลการทดสอบไปใช้เป็นองค์ประกอบหนึ่งในการจบการศึกษาตามหลักสูตรฯ 2551
มาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติมาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ • มาตรฐานการบริหารการทดสอบ • มาตรฐานบุคลากรด้านการทดสอบ • มาตรฐานการพัฒนาแบบทดสอบ • มาตรฐานการพิมพ์ข้อสอบ การตรวจ การให้คะแนนและการประมวลผล • มาตรฐานการรายงานผลและการนำผลไปใช้
แนวปฏิบัติการจัดสนามสอบ (ของ สทศ.) • ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้จัดสนามสอบโดยกำหนด 1 กลุ่มเครือข่ายโรงเรียน เป็น 1 สนามสอบ ( กลุ่มเครือข่ายโรงเรียน อาจเรียกชื่ออย่างอื่น เช่น กลุ่มคุณภาพ กลุ่มประสิทธิภาพ กลุ่มโรงเรียน ) • ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้ จัดสนามสอบโดยกำหนด 1 อำเภอหรือกลุ่มเครือข่ายโรงเรียน เป็น 1 สนามสอบ
การแต่งตั้งกรรมการสนามสอบการแต่งตั้งกรรมการสนามสอบ • ให้ศูนย์สอบแต่งตั้ง คณะกรรมการระดับสนามสอบตำแหน่ง หัวหน้าสนามสอบ กรรมการกลาง และ กรรมการคุมสอบ จากต่างกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนที่เป็นสนามสอบทั้งชุด
กระดาษคำตอบ O-NET ม.3 • 1 แผ่น ต่อ วิชา • ยกเว้น สุขศึกษาฯ ศิลป การงานฯ รวมมี 1 แผ่น
กระดาษคำตอบมี 2 ประเภท
กระดาษคำตอบมี 2 ประเภท
ข้อปฏิบัติในการเข้าห้องสอบข้อปฏิบัติในการเข้าห้องสอบ • ไม่มีเลขที่นั่งสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ • ไม่มีบัตรแสดงตน ไม่มีสิทธิ์สอบ • ไปผิดสนามสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ • ไปสายเกิน 30 นาที ไม่มี สิทธิ์สอบในวิชานั้น • ห้าม นำเครื่องมืออุปกรณ์สื่อสารเข้าห้องสอบ • ให้นั่งสอบจนหมดเวลา • อนุญาต ให้นำนาฬิกาเข้าห้องสอบ(ต้องเป็นนาฬิกาที่ใช้ดู เวลาเท่านั้น)
คณะกรรมการระดับสนามสอบคณะกรรมการระดับสนามสอบ • หน.สนามสอบ • กรรมการกลาง • กรรมการคุมสอบ • นักการภารโรง • ผู้สังเกตการณ์
บทบาท หน.สนามสอบ (หน้า 7-8) • เตรียมพร้อมก่อนการจัดสอบ • สถานที่ ห้องสอบ ติดป้ายต่างๆ ทำป้ายติดหน้าอก ฯลฯ • รับส่งกล่องแบบทดสอบ กล่องกระดาษคำตอบ • เปิดกล่องแบบทดสอบแต่ละวิชา (ไม่เกิน 1 ชม. ก่อนเวลาสอบตามตาราง) • ขออนุมัติกรณีมี นร.Walk in • กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ การจัดสอบในสนามสอบ
บทบาท หน.สนามสอบ (หน้า 7-8) • สั่งพักการปฏิบัติงานกรณี กก.คุมสอบบกพร่อง ฯลฯ • เก็บรักษาแบบทดสอบ(หลังสอบ)ให้เป็นระบบและนำส่งกระดาษคำตอบให้ศูนย์สอบครบถ้วน • จ่ายค่าตอบแทน • สรุปผล พร้อมบทลงโทษร่วมกับผู้สังเกตการณ์ในกรณีมีการทุจริตหรือส่อว่าจะมี • รายงานสถิติผู้เข้าสอบทางระบบ O-NET
บทบาท กรรมการกลาง(หน้า 8-9) • เตรียมซองแบบทดสอบ ซองกระดาษคำตอบ ฯลฯ ส่งมอบให้กรรมการคุมสอบ • เดินตรวจความเรียบร้อยของห้องสอบและสนามสอบ • ตรวจสอบ สทศ.2 ตรวจนับกระดาษคำตอบ ฯลฯ • ปิดผนึกซองกระดาษคำตอบต่อหน้า กก.คุมสอบ • นับแบบทดสอบ ปิดซอง ใส่กล่อง • นับซองกระดาษคำตอบใส่กล่องปรับขนาด • ควบคุมห้องสอบกรณี กก.คุมสอบไม่พอ
กรรมการคุมสอบ • ตรวจรับ น.ร.ก่อนเข้าห้องสอบ
วิธีการทำงานกรรมการคุมสอบ (11-19) • น.ร. 2 คน ตรวจความเรียบร้อยของซอง เซ็นต์ชื่อรับรอง
กรรมการคุมสอบ • แจกกระดาษคำตอบและแบบทดสอบตามที่เรียงไว้ในซอง (มีแบบทดสอบ 6 ชุด สลับกันไว้แล้ว)
กรรมการคุมสอบ อยู่หลัง
กรรมการคุมสอบ นับตรวจสอบ เรียงลำดับ กระดาษคำตอบและ สทศ.2 ใส่ซอง ไม่ต้องผนึก นำส่ง กก.กลาง
กรรมการกลางและกรรมการคุมสอบกรรมการกลางและกรรมการคุมสอบ กก.กลาง นับตรวจสอบ เรียงลำดับ กระดาษคำตอบและ สทศ.2 ใส่ซอง สติกเกอร์ปิดซอง
ผู้สังเกตการณ์ ปฏิบัติหน้าที่ตาม หน้า 11 รายงานผลฯ ทุกคน ใส่ซองขาว ปิดผนึก ส่งให้ศูนย์ประสานฯ
เอกสารการจัดสอบ สทศ.2
เอกสารการจัดสอบ สทศ.3
เอกสารการจัดสอบ O-NET 1
เอกสารการจัดสอบ O-NET 2
เอกสารการจัดสอบ O-NET 10
เอกสารการจัดสอบ รายงานผลฯ
เอกสารการจัดสอบ ใบสำคัญรับเงิน
เอกสารการจัดสอบเมื่อสอบเสร็จเอกสารการจัดสอบเมื่อสอบเสร็จ • ตรวจสอบความถูกต้อง • ตรวจนับให้ครบถ้วน แยกเป็นประเภท • ใส่ซองเอกสาร (ที่ได้รับไปในวันนี้ ไม่ต้องปิดผนึก) • ส่งศูนย์ประสานการจัดสอบพร้อมกระดาษคำตอบ • เอกสาร/หลักฐานการเบิกจ่ายฯ ให้แยกส่งต่างหาก ห้ามรวมในซองเอกสารข้างต้น
ใบรายงานผลการทดสอบระดับชาติฯ(O-NET)ใบรายงานผลการทดสอบระดับชาติฯ(O-NET) • ฉบับที่ 1 ผลการทดสอบ O-NET รายบุคคล.pdf • ฉบับที่ 2 ค่าสถิติระดับโรงเรียนแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้.pdf • ฉบับที่ 3 ร้อยละของนักเรียนที่ตอบถูกในแต่ละข้อระดับโรงเรียน.pdf • ฉบับที่ 4 ช่วงคะแนนของผู้เข้าสอบ ระดับโรงเรียน.pdf • ฉบับที่ 5 ค่าสถิติระดับโรงเรียนแยกตามสาระการเรียนรู้.pdf
การจัดสอบเด็กพิเศษ • บางประเภท สทศ.จัดสอบรวม บางประเภทจัดห้องแยก • กรณีสนามสอบเห็นว่าสอบรวมไม่เหมาะสม อาจรบกวนสมาธิคนอื่น ให้จัดห้องสอบพิเศษแยกออกมา ตั้งกรรมการคุมสอบ 1 คน /นร.5 คน • กรณีมีการแยกห้อง ให้จัดเก็บกระดาษคำตอบไว้ในซองเดิม • เสนอรายชื่อกรรมการมาให้ศูนย์สอบแต่งตั้งเพิ่มเติม
อื่นๆ • ตรวจสอบเลขที่นั่งสอบของนร.ที่เพิ่มเติม ในระบบ • แบบแก้ไขข้อมูล (สทศ.6) แก้ไขข้อมูลนักเรียน ชื่อ สกุล เลขประชาชน ฯลฯ คนละ 1 ใบ ตรวจสอบ ถ้ามีเตรียมทำได้เลย • อาหารกลางวัน ของเด็กสอบถามที่สนามสอบ มีขายหรือไม่ • อาหารกลางวัน กรรมการฯ แล้วแต่สนามสอบจะอนุเคราะห์
ค่าตอบแทน ค่าใช้จ่าย • หน.สนามสอบ 550 บาท/วัน • กก.กลาง กก.คุมสอบ ผู้สังเกตการณ์ 450 บาท/วัน • ภารโรง 250 บาท/วัน • ค่าใช้จ่ายสำหรับขนส่ง น.ร.มาสอบ (เฉพาะ ป.6) • ค่าพาหนะ น.ร. หัวละ 20 บาท • ค่าตอบแทนอาจารย์คุม น.ร. 450 บาท/วัน
ค่าตอบแทน ค่าใช้จ่าย • ค่ารถรับส่งข้อสอบฯ จ่ายตามจริง สนามสอบละไม่เกิน 800 บาท /วัน • ค่ารถกรรมการคุมสอบ จ่ายตามจริง คนละไม่เกิน 150 บาท /วัน • ค่ารถกรรมการกลาง ผู้สังเกตการณ์ จ่ายตามจริง คนละไม่เกิน 300 บาท /วัน
นัดหมาย • สนามสอบรับข้อสอบฯ ที่ศูนย์ประสานฯ 06.30-07.30 น. ทุกวัน • ส่งกระดาษคำตอบ ฯลฯ ถึงศูนย์ประสานฯ ไม่เกิน 2 ชม.หลังเวลาสอบเสร็จ (ถ้าเกินต้องทำบันทึกชี้แจงสาเหตุถึงประธานศูนย์สอบ) • หลังประกาศผล (15 มี.ค.56) ร.ร.รับแบบทดสอบไปศึกษาที่สนามสอบ