330 likes | 457 Views
แผนและการประเมินผล การส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย ทพญ.จันทนา อึ้งชูศักดิ์ กรมอนามัย. เป้าหมาย ๓ ข้อ. ๑.เห็นตัวอย่างแผนและการประเมินผล ๒.ได้แบบเก็บข้อมูลสำหรับการประเมินผล ๓.เรียนรู้วิธีการประเมินผลที่น่าเชื่อถือ. แผนการแก้ไขปัญหา และตัวชี้วัดสุขภาพช่องปากในเด็กวัยก่อนเรียน.
E N D
แผนและการประเมินผลการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยทพญ.จันทนา อึ้งชูศักดิ์ กรมอนามัย
เป้าหมาย ๓ ข้อ ๑.เห็นตัวอย่างแผนและการประเมินผล ๒.ได้แบบเก็บข้อมูลสำหรับการประเมินผล ๓.เรียนรู้วิธีการประเมินผลที่น่าเชื่อถือ
แผนการแก้ไขปัญหาและตัวชี้วัดสุขภาพช่องปากในเด็กวัยก่อนเรียนแผนการแก้ไขปัญหาและตัวชี้วัดสุขภาพช่องปากในเด็กวัยก่อนเรียน
ตัวชี้วัดในปี 2557 กลุ่มแม่และเด็ก(NPP)
ผสมผสานงานในโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวผสมผสานงานในโครงการสายใยรักแห่งครอบครัว • ANC คุณภาพ ตรวจช่องปากหญิงตั้งครรภ์ แนะนำแปรงฟัน และให้บริการ (scaling) ตามความจำเป็น • WCC คุณภาพ • ตรวจ จัดการเด็กเสี่ยง (มี white lesion ทาฟลูออไรด์วาร์นิช) • ฝึกแปรงฟัน (แบบ hands on) • ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ • ตรวจปีละ ๒ ครั้ง • แปรงฟันคุณภาพ (อุปกรณ์ สถานที่) • สิ่งแวดล้อมใน ศพด. (จัดการเรื่องอาหาร) • การสื่อสาร ร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน
แผนที่ดีควรมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนแผนที่ดีควรมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน
แก้ปัญหา ตรงประเด็น ทำความเข้าใจปัญหา รณรงค์ ประกวด พัฒนา อสม. แผนชุมชน
ทำไมต้องประเมินผล ประเมินผลเพื่อให้ใครรู้ ?? ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร ได้ผลอย่างไร
คำถามที่อยากรู้คืออะไรคำถามที่อยากรู้คืออะไร ๑. ทำงานแล้วได้ผลหรือเปล่า ??? ๒.ให้บริการได้ทั่วถึงหรือไม่ (% coverage ของกิจกรรม) ๓. ทรัพยากรมาจากไหน ใช้งบประมาณปีละเท่าไร ๔. คนที่มาช่วยเราทำงาน รู้สึก happy ไหม มีอะไรอีกไหม ????
ทำงานแล้วได้ผลหรือเปล่าทำงานแล้วได้ผลหรือเปล่า ผู้ปกครองเปลี่ยนไปไหม : แปรงฟันให้เด็กได้ แปรงทุกวันไม่ลืม จัดระเบียบการกินของเด็กได้ เด็กสุขภาพดีขึ้นไหม ปวดฟันน้อยลง ได้รับบริการมากขึ้น ฟันผุน้อยลง Caries free, dmft
คนที่มาช่วยเราทำงาน รู้สึก happy ไหม - มีใครช่วยงานเราบ้าง (ในหน่วยงาน, นอกหน่วยงาน) - ผู้ร่วมงานพอใจทำงานกับเราหรือเปล่า - ขั้นตอนไหนทำให้เขาไม่ happy - อยากให้เราปรับปรุงอะไร
สรุป : กรอบการประเมินผล • Input • ทรัพยากรมาจากไหน ใช้งบประมาณปีละเท่าไร • Process, Output • ครอบคลุมประชากรเท่าไร ภาคี Happy ไหม • Product ผลการทำงาน • Target เปลี่ยนพฤติกรรม, Caries Free เพิ่ม dmftลด
กิจกรรมกลุ่มย่อย ๑ศึกษาตัวอย่างการประเมินผลและตอบคำถามว่า paper ที่อ่านตอบการประเมินผลในระดับใดกลุ่มเป้าหมาย เรื่องที่ประเมิน ระยะเวลาที่ประเมิน ผลลัพธ์
เครื่องมือที่ใช้เพื่อการประเมินผลเครื่องมือที่ใช้เพื่อการประเมินผล • แบบบันทึกกิจกรรม • แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม • แบบตรวจสุขภาพ • ประมวลผลและเปรียบเทียบให้เห็นการเปลี่ยนแปลง • เทียบกับตัวเอง ก่อน-หลัง • เทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้รับบริการ • เทียบกับเพื่อนต่างตำบล อำเภอ
Oral examination recording form -เปรียบเทียบความครอบคลุมของกิจกรรมแต่ละปี พ.ศ. -เปรียบเทียบ status ของอายุเดิม แต่ละปี พ.ศ. -เปรียบเทียบแนวโน้มของ status แต่ละปี
การออกแบบการประเมินผลEvaluation Design • เก็บข้อมูลแบบตัดขวาง กลุ่มเดียวหรือมากกว่า ๑ กลุ่ม (Repeated cross-sectional studies) • มีกลุ่มเดียวหรือมีกลุ่มเปรียบเทียบ ติดตามไปข้างหน้าช่วงเวลาหนึ่ง (Non-randomised longitudinal studies) • มีกลุ่มเปรียบเทียบ แต่ละกลุ่มถูกเลือกอย่างอิสระ เป็นกลุ่มปิด ไม่ได้รับปัจจัยอื่นนอกจากปัจจัยที่ผู้วิจัยให้ (Randomised controlled trial (RCT)
Repeated cross-sectional studies (๑ กลุ่ม) • มีกลุ่มเดียว • เก็บข้อมูลเด็กคนใหม่ทุกๆ ปี • อาจตรวจทุกคนในชุมชน หรืออายุใดอายุหนึ่ง(index age) • เปรียบเทียบข้อมูลของแต่ละปี เหมือนที่เรากำลังทำขณะนี้ (ท 01, 02)
ตัวอย่าง : ประเมินบทบาท อสม. ในการป้องกันฟันผุเด็กปฐมวัย ปี 2553-55 ใน 18 หมู่บ้าน เด็ก 340 คน ร้อยละของเด็ก 3 ปีที่มีฟันผุ
ตัวอย่าง : แนวโน้มโรคฟันผุในเด็กไทยอายุ 3 & 5 ปี 1989-2012
Repeated cross-sectional studies (๑ กลุ่ม) เก็บข้อมูลครั้งเดียว (‘snap-shot’) ในเด็กทุกคน (หรือทุกคนตามอายุที่กำหนด) ที่อยู่ในชุมชน ไม่ว่าจะได้รับหรือไม่ได้รับบริการ ข้อดี: จัดการง่าย เห็นการเปลี่ยนแปลง ได้ข้อมูลตามสภาพจริงที่เป็นอยู่ ข้อจำกัด: ไม่สามารถบอกได้ว่ากิจกรรมใด ส่งผลต่อสุขภาพเด็กมากกว่ากัน หรือไม่ส่งผลเลย การเปลี่ยนแปลงอาจมาจากปัจจัยอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับโครงการ
Repeated cross-sectional studies(๒ กลุ่ม) • มี ๒ กลุ่ม (ได้รับ/ไม่ได้รับ intervention) • เก็บข้อมูลเด็กคนใหม่ทุกๆ ปี • อาจตรวจทุกคนหรืออายุใดอายุหนึ่งเป็น index age • เปรียบเทียบอัตราเพิ่มฟันผุของ ๒ กลุ่ม (ร้อยละ dmft/f)
Repeated cross-sectional studies(๒ กลุ่ม) ข้อดี: จัดการง่าย เห็นการเปลี่ยนแปลง ได้ข้อมูลตามสภาพจริงที่เป็นอยู่ บอกผลของ intervention ได้บ้างตามเงื่อนไข ข้อจำกัด: บอกผลของ intervention ได้อย่างจำกัด การเปลี่ยนแปลงอาจมาจากปัจจัยอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับโครงการ
ตัวอย่าง • ในบัลกาเรียPakhomov GN et al. J Publ Health Dent 1995;55:234-7. • เด็กอายุ 3½ ปี จาก ๒ ชุมชน คือชุมชนที่ได้ดื่มนมฟลูออไรด์ ‘intervention’และชุมชนที่ไม่ได้ดื่ม “control” • ตรวจเด็กอายุ 6½ ปี เป็น Baseline (ก่อนเริ่ม intervention) ดื่มนมฟลูออไรด์ไป ๓ ปี ตรวจเด็กอายุ 6½ ปีของชุมชนเดิม • Results: Intervention group Control group Baseline dmft 5.3 5.6 After 3 years 3.2 5.2
Cohort studiesเก็บข้อมูลไปข้างหน้า (๒ กลุ่ม) • เด็ก ๒ กลุ่ม กลุ่มศึกษาและกลุ่มควบคุม • เก็บข้อมูลเด็กคนเดิมของแต่ละกลุ่ม ต่อเนื่องไปเป็นระยะเวลา ๑,๒,๓... ปี • เปรียบเทียบอัตราเพิ่มของฟันผุของ ๒ กลุ่ม • อาจได้ข้อมูลอื่นๆด้วย เช่นการมารับบริการต่อเนื่อง พฤติกรรมการแปรงฟันและการกิน
ตัวอย่าง • การศึกษาในปักกิ่งBian JY et al. Community Dent Oral Epidemio2003;31:241-5. • Baseline: เด็กอายุ ๔ ปี จากศูนย์ที่ได้กินนมฟลูออไรด์ ‘intervention’ กับศูนย์ที่กินนมธรรมดา ‘control’ เด็กคนเดิมจะถูกตรวจซ้ำหลังดื่มนมได้ ๒๑ เดือน พบว่า • Results: Intervention Gr Control Gr Baseline dmft 3.2 3.5 อัตราเพิ่ม (B-A) dmft 0.4 1.3
Randomised controlled trial (RCT) • ข้อดี • ไม่มีอคติ เพราะเลือกคนหรือกลุ่มศึกษาอย่างอิสระ เป็นกลุ่มปิด ไม่ได้รับปัจจัยอื่นนอกจากปัจจัยที่ผู้วิจัยให้ • เพราะไม่มีอคติ ผลลัพธ์จึงเชื่อได้ว่าเกิดจากกิจกรรมที่เราให้จริงๆ • ข้อเสีย • ทำยาก • การควบคุมไม่ให้กลุ่มวิจัยได้รับปัจจัยอื่นเลย เป็นไปได้ยาก • ปัญหาด้านจริยธรรม
ตัวอย่าง RCTศึกษาประสิทธิผลของการฝึกผู้ปกครองแปรงฟันต่อการลดโรคฟันผุในเด็ก ๐-๓ ปี • แบ่งเด็กเป็น ๓ กลุ่ม แต่ละกลุ่มสุ่ม(จับฉลาก)คัดเลือกมาอย่างอิสระ • กลุ่มที่ ๑ ฝึกผู้ปกครองแปรงฟัน+อสม.ติดตามทุก ๓ เดือน • กลุ่มที่ ๒ ฝึกแปรงฟันด้วยโมเดล + ทา Fluoride varnish • กลุ่มที่ ๓ ให้บริการตามปกติ (สอนปากเปล่า) • ควบคุม intervention ห้ามให้บริการข้ามกลุ่ม • ควบคุมปัจจัยแวดล้อมที่อาจส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง • ทั้ง ๓ กลุ่ม วัด dmfsก่อน-ระหว่าง-หลัง โครงการ เปรียบเทียบกัน
ประชุมกลุ่มย่อยเพื่อสร้างแบบเก็บข้อมูลประเมินผลประชุมกลุ่มย่อยเพื่อสร้างแบบเก็บข้อมูลประเมินผล ศึกษาเครื่องมือวัดผลจาก Paper ที่อ่าน แลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่เราเคยประเมินผล ว่าเก็บข้อมูลอะไรบ้าง ถ้าให้ทำใหม่อยากเก็บข้อมูลอะไร
บทส่งท้าย • การประเมินผลไม่ใช่เรื่องง่าย • แต่เป็นเรื่องดี ทำงานสนุกเมื่อรู้ว่าทำแล้วเกิดผลอะไร • เป็นข้อมูลที่ควรบอก คนให้ทุน หัวหน้าเรา ชุมชน ผู้ปกครองเด็ก เพื่อให้สนับสนุนต่อ หรือเข้ามาช่วยเหลือมากขึ้น • เพราะเรามีข้อมูลเชิงประจักษ์ที่จะมอบให้ • เป็นการ empower ทั้งตัวคนทำงาน ระบบงาน และชุมชน
ตัวอย่าง ๑ RCT เดือนที่ ๑ เดือนที่ ๖ เดือนที่ ๑๒ เดือนที่ ๒๔ ตรวจ ๑ อบรม ฝึกแปรงฟัน อสม.ติดตามแปรงฟัน ตรวจ ๒ ติดตามแปรงฟัน ตรวจ ๓ ๑ ๒ ๓ ความแตกต่างของ กลุ่ม 1 VS กลุ่ม 2 ตรวจ ๑ สอนแปรงฟัน model กลุ่ม ๒ ตรวจ ๒ พบ white spot ทา FV ตรวจ ๓ ความแตกต่างของ กลุ่ม 1,2 VS กลุ่ม 3 ตรวจ ๑ สอนแปรงฟัน model กลุ่ม ๓ ตรวจ ๒ ตรวจ ๓
ตัวอย่าง : การประเมินผลโดยใช้แบบสอบถามRugg-Gunn et al. 1977 • อาจทำแบบสอบถามเดี่ยวๆ หรือ + การเก็บข้อมูล dental status • คำถาม อาจเป็นเรื่องเด็กปวดฟัน ได้รับบริการ การจัดการของผู้ปกครอง (แปรงฟัน นม ขนม) รวมทั้งผลกระทบต่อชีวิตประจำวันหากเด็กปวดฟัน ได้รับฟลูอไรด์ในน้ำไม่ได้รับ % เด็กมีถุงหนอง0 5 % เด็กปวดฟัน17 38 % เด็กได้รับการถอนฟัน 7 22