620 likes | 843 Views
ครอบครัว : รู้จักและเปลี่ยนแปลง. นายยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ และนางภมริน เชาวนจินดา นักสังคมสงเคราะห์เชี่ยวชาญ. หน้าที่. ครอบครัว. ประเมิน. เปลี่ยนแปลง. ระบบครอบครัว. แม่. พ่อ. ลูกสาว. ลูกชาย. หน้าที่ของครอบครัว. การตอบสนอง ความผูกพัน.
E N D
ครอบครัว:รู้จักและเปลี่ยนแปลงครอบครัว:รู้จักและเปลี่ยนแปลง นายยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ และนางภมริน เชาวนจินดา นักสังคมสงเคราะห์เชี่ยวชาญ
หน้าที่ ครอบครัว ประเมิน เปลี่ยนแปลง
ระบบครอบครัว แม่ พ่อ ลูกสาว ลูกชาย
หน้าที่ของครอบครัว การตอบสนอง ความผูกพัน • ความสัมพันธ์ทางอารมณ์ • บทบาท • การแก้ไขปัญหา • การสื่อสาร • การควบคุมพฤติกรรม
วงจรชีวิตครอบครัว • ผู้ใหญ่ • แต่งงาน • ลูกเล็ก • ลูกวัยรุ่น • ลูกแยกครอบครัว • บั้นปลายชีวิต
การประเมินครอบครัว เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ • แบบประเมินการทำหน้าที่ของครอบครัว • ปมครอบครัว • แผนภูมิครอบครัว • ขอบเขตความสันพันธ์
การประเมินการทำหน้าที่ครอบครัวการประเมินการทำหน้าที่ครอบครัว
การแก้ปัญหา ได้แก่ ข้อ 1, 2, 3, 8, 25, 26 การสื่อสาร ได้แก่ ข้อ 9, 16, 23, 28, 31 บทบาทได้แก่ ข้อ 10, 17, 29 การตอบสนองทางอารมณ์ ได้แก่ ข้อ 4, 11, 18, 34, 35 ความผูกพันทางอารมณ์ได้แก่ ข้อ 5, 12, 21, 24, 33 การควบคุมพฤติกรรมได้แก่ ข้อ 6, 13, 27, 30 การทำหน้าที่ทั่วไป ได้แก่ ข้อ 7, 14, 15, 19, 20, 22, 32, 36 ข้อขีดเส้นใต้ = ข้อความทางลบ
การให้ค่าคะแนน ข้อความทางบวก ข้อความทางลบ ตรงมากที่สุด 4 1 ตรงปานกลาง 3 2 ตรงเล็กน้อย 2 3 ไม่ตรงเลย 1 4
1.00 - 1.49 หมายถึง รับรู้ว่าครอบครัวของตน มีการทำหน้าที่ในด้านนั้นไม่ดี 1.50 - 2.49 หมายถึง รับรู้ว่าครอบครัวของตน มีการทำหน้าที่ในด้านนั้นดีเล็กน้อย 2.50 - 3.49 หมายถึง รับรู้ว่าครอบครัวของตน มีการทำหน้าที่ในด้านนั้นดีพอควร 3.50 - 4.00 หมายถึง รับรู้ว่าครอบครัวของตน มีการทำหน้าที่ในด้านนั้นดีมาก
ปูมครอบครัว = ชาย = บุคคลซึ่งถูกมองว่าเป็นปัญหา = หญิง = เสียชีวิตแล้ว (ระบุ พ.ศ.หรืออายุ.......) = คู่สมรสที่แยกกันอยู่ (ระบุ.......... พ.ศ..) = คู่สมรสที่หย่าขาด (ระบุ.....พ.ศ. )
= ชาย = หญิง = ความผูกพันที่พอดีปกติ สำหรับระบบย่อยของสามี – ภรรยา (Marital Subsystem) และระบบย่อยของพ่อ-แม่(Parenting Subsystem) = ความผูกพันที่พอดีปกติ สำหรับระบบย่อยพี่น้อง (Sibling Subsystem) และระหว่างระบบย่อย = ความขัดแย้งที่เปิดเผยชัดเจน (Overt Conflict) เช่น ทะเลาะ ทุบตี = ความขัดแย้งในใจที่ปิดบังไว้ (Covert Conflict) = ความผูกพันที่แน่นแฟ้มมากเกินไป จนกระทั่งรวมกันเป็นพวก และต่อต้านคนอื่น (Coalition) แผนภูมิครอบครัว
สื่อสาร ความขัดแย้งที่เปิดเผย ความขัดแย้งในใจ
โครงสร้าง ระบบย่อยลูกยอมรับได้ ระบบย่อยลูกยอมรับไม่ได้
1 2 3 ขัดแย้งมาลงที่ลูก
1 2 3 ขัดแย้งจนแบ่งฝ่าย
ขอบเขตความสัมพันธ์ = ชาย = หญิง = ขอบเขตความสัมพันธ์แบบเข้มงวด (Rigid) = ขอบเขตความสัมพันธ์เหมาะสม (Clear boundary) = ขอบเขตความสัมพันธ์คลุมเครือ (Chaotic, Over involvement)
ครอบครัวที่มีความสัมพันธ์แบบเข้มงวดครอบครัวที่มีความสัมพันธ์แบบเข้มงวด
ครอบครัวที่ก้าวก่ายลูกมากเกินไปครอบครัวที่ก้าวก่ายลูกมากเกินไป
การเปลี่ยนแปลงครอบครัวการเปลี่ยนแปลงครอบครัว ตนเอง การเปลี่ยนแปลง คู่สมรส ลูก
หน้าที่ครอบครัว การเปลี่ยนแปลง • ความสัมพันธ์ทางอารมณ์ • การตอบสนอง • ความผูกพัน • บทบาท • การแก้ไขปัญหา • การสื่อสาร • การควบคุมพฤติกรรม คุณค่าในตนเอง การจัดการกับอารมณ์ และความเครียด การคิดทาง + ทักษะการแก้ไขปัญหา การสื่อสาร วินัยและกติกา ตนเอง คู่สมรส ลูก
1 1 2 2 6 6 5 3 5 3 4 4 หน้าที่ การเปลี่ยนแปลง
หน้าที่ ครอบครัว ประเมิน เปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลง:ตนเอง • คุณค่าในตนเอง • การจัดการกับอารมณ์และความเครียด ความสัมพันธ์ทางอารมณ์
คุณค่าในตนเอง • ระลึกถึงพ่อแม่ พี่น้อง/ ญาติ ที่เรารู้สึกว่า /เคารพ / ผูกพันมากที่สุด มา 2 คน - เล่าสู่กันฟัง - ลักษณะร่วม
คุณลักษณะร่วม ความรัก ความเมตตา เสียสละ อดทน ปลูกฝังให้เป็นคนดี ให้กำลังใจ ให้โอกาส ช่วยเหลือ ซื่อสัตย์ ยุติธรรม เป็นแบบอย่าง ให้อภัย
คุณค่าภายใน ทำงานด้วยจิตสงบ สมาธิ สติ
การจัดการกับอารมณ์และความเครียดการจัดการกับอารมณ์และความเครียด • หายใจคลายเครียด • สมาธิ • - สติ
สมาธิ : จิตตั้งมั่น คิด ว้าวุ่น เครียด Thinking Upset Stress ความคิดหยุด สงบ ผ่อนคลาย Relaxation Though stopping Calmness • ร่างกาย • จิตใจ
ฝึกสมาธิ 1. ฝึกหยุดความคิด Thought stopping 2. ฝึกจัดการความคิดที่เข้ามาสอดแทรก Development of calmness 3. ฝึกหยุดความคิดอย่างต่อเนื่องจนจิตสงบและผ่อนคลาย Relaxation
1.ฝึกหยุดความคิด : รู้ลมหายใจเข้า/ออก - หลับตา - หายใจเข้าออกยาวสัก 5 รอบ เพื่อรับรู้ ความรู้สึกของลมหายใจ ที่ผ่านเข้าออก - สังเกตที่ปลายจมูกข้างหนึ่งที่รู้สึกชัดกว่าและดูไปให้ต่อเนื่อง
2. ฝึกจัดการความคิดที่เข้ามาสอดแทรก - ความคิดมาจากจิตใต้สำนัก เราควบคุม/ห้ามไม่ได้ - สิ่งที่ทำได้คือไม่คิดตาม - โดยรู้ตัวและกลับมาเตือนตนเองให้กลับมาอยู่กับลมหายใจด้วยการหายใจเข้าออก ยาว 1-2 ครั้ง
3. ฝึกจัดการความคิดอย่างต่อเนื่องจนจิตสงบและผ่อนคลาย - จัดการกับความง่วง (ยึดตัวตรง / หายใจลึก /จินตนาการแสงสว่าง) - จัดการกับตัวกระตุ้นภายในอื่น ๆ
ตื่น awake หลับ Sleep สมาธิ concentration
สติ : รู้ในกิจที่ทำ Right Mindfulness รู้ตัวแต่ขาด ความคิดวอกแวก อารมณ์แทรก ฐานสติ มีฐานสติ ไม่วอกแวก ควบคุมความคิด/ อารมณ์
ฝึกสติ Mindfulness Training 1. ฝึกมีฐานสติ Base of mindfulness 2. ฝึกแบ่งสติ Different use of mindfulness 3. ฝึกสติ ปัญญาภายใน From mindfulness to wisdom
การใช้ลมหายใจเป็นฐานสติการใช้ลมหายใจเป็นฐานสติ • ลมหายใจ : มีอยู่ตลอดเวลา / เป็นปัจจุบัน • การฝึกสติให้เป็นปัจจุบัน จึงทำได้โดยผูกสติกับลมหายใจไว้เป็นฐานสติ พร้อมไปกับรู้ในกิจที่ทำ • ช่วยให้เรามีสติในกิจต่าง ๆ ได้ดีขึ้น
1. ฝึกมีฐานสติใช้กิจกรรมทางกาย Base of mindfulness • รู้ลมหายใจไว้เล็กน้อยเป็นฐานสติ • เป็นการผูกสติไว้กับลมหายใจที่เป็นปัจจุบัน • Partial awareness of breathing • รู้ในกิจที่ทำ : แบ่งสติไป ดู/ฟัง, นั่ง, ยืน, เดิน • awarenessof action
2. ฝึกแบ่งสติ : มีฐานสติกับลมหายใจ มากน้อยตามสภาวการณ์ • รู้ในกาย • รู้ในจิต
3. ฝึกสติ ปัญญาภายใน • เห็นการเปลี่ยนแปลง • เห็นการเกิดดับ • ไม่จำเป็นต้องตอบโต้ ปล่อยวาง
การฝึกสติในชีวิตประจำวัน - ต้องให้มี ฐานสติ เป็นครั้งคราว (การเตือนสติ) - ตั้งใจทำกิจ ๆ หนึ่งอย่างมีสติต่อเนื่อง(กิจกรรมฝึกสติ)
ตื่น awake หลับ Sleep สติ mindfulmess สมาธิ concentration
การเปลี่ยนแปลง : คู่สมรส การคิดทางบวก ทักษะการแก้ไขปัญหา บทบาทและการแก้ไขปัญหาดีขึ้น