1 / 32

โครงการฟื้นฟูแม่น้ำสี่สาย และแนวทางการนำโครงการมา ปรับใช้กับแม่น้ำเจ้าพระยา

ตัวอย่างการป้องการน้ำท่วมในประเทศเกาหลี. โครงการฟื้นฟูแม่น้ำสี่สาย และแนวทางการนำโครงการมา ปรับใช้กับแม่น้ำเจ้าพระยา. กระทรวงฟื้นฟูแม่น้ำสี่สาย ประเทศเกาหลี. MLTM Republic of Korea. 3. สารบัญ. 1. พื้นหลัง. 2. โครงการแม่น้ำสี่สาย. แนวทางการนำโครงการมาปรับใช้กับแม่น้ำเจ้าพระยา. 2.

abia
Download Presentation

โครงการฟื้นฟูแม่น้ำสี่สาย และแนวทางการนำโครงการมา ปรับใช้กับแม่น้ำเจ้าพระยา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตัวอย่างการป้องการน้ำท่วมในประเทศเกาหลีตัวอย่างการป้องการน้ำท่วมในประเทศเกาหลี โครงการฟื้นฟูแม่น้ำสี่สาย และแนวทางการนำโครงการมา ปรับใช้กับแม่น้ำเจ้าพระยา กระทรวงฟื้นฟูแม่น้ำสี่สาย ประเทศเกาหลี MLTM Republic of Korea

  2. 3 สารบัญ 1 พื้นหลัง 2 โครงการแม่น้ำสี่สาย แนวทางการนำโครงการมาปรับใช้กับแม่น้ำเจ้าพระยา 2

  3. 1. พื้นหลัง 3

  4. ตำแหน่งโครงการและความคืบหน้า แม่น้ำฮัน แม่น้ำนัคดง แม่น้ำกึม แม่น้ำยองซัน

  5. 3 คุณลักษณะทางอุทกวิทยาในประเทศเกาหลี 1 ปริมาณน้ำฝนต่อปีในประเทศเกาหลี: 1,245 มม • มีปริมาณพอกันเมื่อเทียบกับแม่น้ำเจ้าพระยา 2/3 ของน้ำฝนต่อปีในช่วงน้ำท่วม (กรกฎาคม ~ กันยายน) 2 • ภูมิอากาศ: ประเทศเกาหลี(temperate monsoon) vs. แม่น้ำเจ้าพระยา(tropical monsoon) • น้ำท่วมที่เกิดอย่างซ้ำๆและความแห้งแล้งในประเทศ ความขาดแคลนน้ำ- ไม่มีน้ำเพียงพอ • เหลือเพียง 27% (33.7 ล้าน ลบ. ม.๗ • ปริมาณน้ำทั้งหมดต่อประชากรในหนึ่งปีมีเหลือประมาณ 1/8 น้อยกว่าปริมาณเฉลี่ยของโลก 5

  6. การเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ, พายุฝน… ความเสียหายจากน้ำท่วม ความเสียหายจากน้ำท่วมต่อปี: US$ 2.2 พันล้าน ค่าการฟื้นฟู: US$ 3.5 พันล้าน บริเวณแถบแม่น้ำนัคดง 6

  7. ความเสียหายจากความแห้งแล้งในประเทศเกาหลี - The photo & film competition of the natural disaster prevention 7

  8. ทัศนะเกียวกับการเปลี่ยนแปลงในประเทศเกาหลี ภูมิอากาศและน้ำฝน • อุณภูมิต่อปี 3.6 ℃ และปริมาณน้ำฝนต่อปี 14% การเปลี่ยนแปลงของน้ำฝน 8

  9. ความเสียหายเนื่องจากน้ำท่วมและความแล้ง(2000 - 2010) ความเสียหายจากน้ำท่วม (2002 พายุรูซา, 2003 พายุเมมิ, 2006 พายุเอวิเนีย) *ความเสียหายทั้งหมด: 4.45 แสนพันล้านบาท(2000-2010) ความเสียหายจากความแล้ง * วงจรความแห้งแล้งหลังปี1990 : 7 ปี(’94→‘01→’08) 9

  10. 2. โครงการฟื้นฟูแม่น้ำสี่สาย 10

  11. ความมั่นคง ทางด้านน้ำ สนับสนุน เศรษฐกิจ ท้องถิ่น ฟื้นฟูแม่น้ำ: ประเทศเกาหลี ปรับปรุง คุณภาพน้ำ 5 เป้าหมายหลัก ฟื้นฟู ระบบนิเวศ การป้องกัน น้ำท่วม 11

  12. ประสิทธิผลและขอบเขตโครงการ 12 12 12

  13. โครงสร้างงบประมาน ตารางโครงการ ตารางและงบประมาณ (หน่วย : พันล้าน USD) ขุดตะกอน ปรับปรุงคุณภาพน้ำ 3.4 ฟื้นฟูระบบนิเวศใน แม่น้ำ2.7 4.4 6.1 สร้างทำนบ 19.3 1.3 2.0 5.5 สร้างอ่างเก็บน้ำสำหรับ การเพาะปลูก ก่อสร้างและพัฒนาเขื่อนต่างๆ โครงการขั้นต้นสำเร็จภายในปี 2011 โครงการที่เหลือจะสำเร็จภายในปี 2012 13

  14. 1ควบคุมน้ำท่วม ขุดตะกอนใต้ท้องน้ำและปรับปรุงระบบเกษตรกรรม เพิ่มประสิทธิภาพการไหลของน้ำในแม่น้ำ ลดระดับน้ำท่วมโดยการขุดลอก (0.46 พันล้าน ลบ. ม.) ระดับน้ำลดลงจากการขุดตะกอน ขุดตะกอน 14

  15. การปรับปรุงระบบเกษตรกรรมการปรับปรุงระบบเกษตรกรรม ตะกอนจะถูกนำมาสะสมปละปรับปรุงเพท่อการเพาะปลูก ตะกอนที่ขุดไดจะ้ถูกนำมาฟื้นฟูโดยมาตรฐานการดูแลดิน ก่อน หลัง พื้นที่ปรับเปลี่ยนพื้นที่และระบบเพาะปลูก 15

  16. ประสิทธิผลจากการความคุมน้ำท่วม 2011 ปริมาณน้ำฝนในช่วงฤดูฝนเพิ่มขึ้นจนทำลายสถิติ (มิถุนายน 20~ กรกฎาคม 17, 2011) - ปริมาณน้ำฝนมากกว่า 640มมใน 20วัน (มากกว่า 2.6 เท่าของค่าเฉลี่ย) * เฉลี่ยปริมาณน้ำฝนต่อปี: 1,245มม แต่ระดับน้ำท่วมลดลงหลังการขุดตะกอน (2~4ม ▼) ก่อน หลัง 16

  17. 2 ความมั่นคงทางด้านน้ำ ทำนบ 16 แห่ง: สามารถกักน้ำ 800 ล้านตัน 17

  18. ทำทบปรับระดับ ปล่อยตะกอนตามระยะเวลา ความคุมระดับน้ำโดยการพยากรณ์ แบบยก แบบหมุน แบบพลิก ปล่อยตะกอน ควบคุมระดับน้ำ 18

  19. 3คุณภาพน้ำและระบบนิเวศ น้ำสะอาด 76% (2006) 86% (2012) * โดย National Institute of Environmental Research * น้ำสะอาด: น้ำเกรด II, BOD 3mg/L) ลดมลพิษจากที่ไม่รู้แหล่ง 1 ประปรุงระบบการกรองน้ำ: 1,281 (3.9 แสนล้านวอน) 2 โรงบำบัดน้ำเสีย:1,044 แห่ง ขจัดฟอสฟอรัสทั้งหมด: 273 แห่ง 19

  20. 4ฟื้นฟูระบบนิเวศ • แม่น้ำ: 929 กม • พื้นที่ชุ่มน้ำ: 39 แห่ง รวมทั้งหมด 3.87 ล้านลบ. ม.ของพื้นที่ชุ่มน้ำจะถูดขยาย(115.89 →119.76 ล้าน ลบ. ม.) อนุรักษ์สัตว์ป่าใกล้สูญพันธุ์ แพร่พันธุ์ปลา ุ์ ฟื้นฟูระบบนิเวศสัตว์ป่าและสัตว์น้ำ 20

  21. 5พัฒนาพื้นที่ริมน้ำ พัฒนาพื้นที่ริมน้ำให้เป็นพื้นที่ใช้สอยเอนกประสงค์ การอยู่ร่วมกันระหว่างธรรมชาติและมนุษย์ การใช้พื้นที่ริมน้ำให้เป็นไปอย่างสะดวก ก่อสร้างที่พักผ่อนหย่อนใจ สร้างทางจักรยาน (1,657กม) ทางเดินสาธารณะ, สิ่งอำนวยกีฬาทางน้ำ 21

  22. แม่น้ำในประเทศเกาหลี แม่น้ำกึม (2011. 5) แม่น้ำกึม(2010. 3) วิ่งมาราธอน (2011. 5) เขตเมียงโด (2011. 5) 22

  23. ทำนบในประเทศเกาหลี 23

  24. 3. แนวทางการนำโครงการพัฒนาลุ่มน้ำ มาปรับปรุงใช้กับแม่น้ำเจ้าพระยา 24

  25. องค์กร หลักการปรับมาใช้ การมีส่วนร่วม ของสังคม กฎหมาย 25

  26. โครงสร้างโครงการ 26

  27. กฎเกนฑ์หลักที่นำมาบังคับใช้ ด้านธรรมชาติ • มิถุนายน 2009: การออกแบบขั้นต้นเสร็จสมบูรณ์ • มิถุนายน 2010: การวิเคราะห์เชิงระบบนิเวศเสร็จสมบูรณ์ • การสำรวจหลังโครงการกำลังอยู่ในช่วงการดำเนินการ • จะปฎิบัติการหลังเริ่มการก่อสร้างสามปี การสำรวจโบราณสถานและโบราณวัตถุ • เจ้าหน้าที่ 220 คนจาก 23 หน่วยงานที่ Cultural Heritage Administration ได้ประกาศให้เป็นองกรณ์เชี่ยวชาญด้านการขุดเจาะ • ดำเนินการอย่างละเอียดมากกว่าสามเดือน (กุมภาพันธ์ 10 – เมษายน 30, 2009) 27

  28. การมีส่วนร่วมในชุมชน การประชุมในชุมชน - 126 ครั้ง 37,000 คน (2009) - 70 ครั้ง 23,000 คน(2010) การตอบกลับจากรัฐบาล - รัฐบาลเสนอ 836 ข้อ, (มูลค่า 98.3 แสนล้าน วอน) - เกี่ยวกับน้ำ 213 เรื่อง นำมาใช้ในโครงการ 28

  29. การบริหารการจัดหารน้ำแบบผสมผสานการบริหารการจัดหารน้ำแบบผสมผสาน การดำเนินการ การดูแบรักษา และการบริหาร การบริหารแบบผสมผสาน ระบบควบคุมเขื่อนและน้ำท่วม ทำนบเอนกประสงค์ ขนาดเล็ก ระบบการวางแผนจัดการแบบผสมผสานโดยใช้ทำนบ เขื่อน การควบคุมน้ำท่วม การกักน้ำ การดัดน้ำ และอื้นๆ อ่างเก็บน้ำสำหรับการ เพาะปลูก 29

  30. แนวความคิดการบริหารจัดการน้ำท่วมในประเทศไทยแนวความคิดการบริหารจัดการน้ำท่วมในประเทศไทย Upstream • Joint Operation • (Flood Control) • Build Storage • - Dam • - Reservoirs Middle Zone • Retarding & • Retention • - Detention basin • - Retention areas • - Storage ponds Downstream • Quick Drainage • - Diversion canal • - Dredging • - Barrage • Safe water block • - Distribution plan • - Zoning & Pumping • - Embankment 30

  31. แนวความคิดการบริหารจัดการน้ำท่วมในประเทศไทยแนวความคิดการบริหารจัดการน้ำท่วมในประเทศไทย 3. 짜오프라야강 홍수관리 대책제안 • สร้างโครงการที่คำนึงและยึดแผนระยะสั้นอย่างรวดเร็ว 31

  32. ขอบคุณครับ www.4rivers.go.kr 32

More Related