1 / 45

ไชยยา อะการะวัง

e. ไชยยา อะการะวัง. ท่านคาดหวังหรืออยากได้อะไร จากการอบรมครั้งนี้. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถใช้ e-Learning เพื่อ ยกระดับการเรียนการสอนได้. จุดประสงค์. พฤติกรรมที่คาดหวังจากการอบรม. Knowledge Skill. ลักษณะของกิจกรรมการอบรม. Listen Doing Passive Active

abel
Download Presentation

ไชยยา อะการะวัง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. e ไชยยา อะการะวัง

  2. ท่านคาดหวังหรืออยากได้อะไรท่านคาดหวังหรืออยากได้อะไร • จากการอบรมครั้งนี้

  3. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถใช้ e-Learning เพื่อยกระดับการเรียนการสอนได้ จุดประสงค์

  4. พฤติกรรมที่คาดหวังจากการอบรมพฤติกรรมที่คาดหวังจากการอบรม Knowledge Skill

  5. ลักษณะของกิจกรรมการอบรมลักษณะของกิจกรรมการอบรม ListenDoing Passive Active CompetitiveCollaborative

  6. ให้ผู้รับการอบรมทุกท่านเข้าที่เว็บไซต์ให้ผู้รับการอบรมทุกท่านเข้าที่เว็บไซต์ www.ThaiCyberU.go.th http://www.thai2learn.com http://elearning.sut.ac.th www.learnsquare.com www.thaiwbi.com http://e-learning.vec.go.th/elearningvec http://e-trainingvec.org http://www.lib.kmutt.ac.th

  7. e-Learningคืออะไร? การนำเอาเทคโนโลยีเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เข้ามาช่วยในการเรียนการสอน การถ่ายทอดความรู้ การอบรม การทดสอบและประเมินผล ผ่านเว็บเพจ

  8. e-Learning(Miss Concept) Website Digital Media

  9. การเรียนแบบe-Learningมีลักษณะอย่างไร?การเรียนแบบe-Learningมีลักษณะอย่างไร? • ศึกษาเรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Internet หรือ Intranet • เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง • ผู้เรียนจะได้เรียนตามความสามารถ และความสนใจของตน • เนื้อหาของบทเรียน ประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพ เสียงวิดีโอ และมัลติมีเดียอื่นๆ • สื่อการเรียนจะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่าน Web Browser

  10. ลักษณะสำคัญของe-Learning • เรียนได้ทุกคน ทุกที่ ทุกเวลา • การใช้สื่อประสม • สามารถเลือกเรียนได้ตามต้องการ • สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ • มีเครื่องวัดผลการเรียน

  11. สรุป e-Learning คืออะไร? e-Learning คือ กระบวนการการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) และสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ที่เหมาะสมซึ่งช่วยลดข้อจำกัดด้านเวลาและสถานที่ระหว่างผู้เรียนและผู้สอนช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความต้องการและความจำเป็นของตนได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต

  12. CAI แตกต่างอย่างไรกับ WBI Web Based Instruction Computer Assisted Instruction OFF LINE ON LINE • เรียนคนเดียว • หลายคนพร้อมกัน • ปฏิสัมพันธ์กับเครื่อง • ปฏิสัมพันธ์ทั้งเครื่องและคน • ติดต่อไม่ได้ในทันที • ติดต่อได้ทันที • ข้อมูลเฉพาะที่มีให้/ไม่มีการ update • ข้อมูลมีทั่วโลก/update ตลอดเวลา

  13. ประโยชน์ของ e-Learning - สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา/ยืดหยุ่น • สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง • ได้เรียนในสิ่งที่ต้องการ/ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ - ติดต่อสื่อสารระหว่างผู้เรียนผู้สอนได้ - ประหยัดงบประมาณ ราคาถูกและใช้งานได้ง่าย • ใช้เป็นสื่อหลัก/สื่อเสริมก็ได้ - ตอบสนองการเรียนรู้ตลอดชีวิต

  14. ข้อพึงระวัง 1.ผู้สอนที่ไปใช้ในลักษณะของสื่อเสริม โดยไม่มีการปรับเปลี่ยนวิธีการ สอนเลย 2.ผู้สอนจะต้องเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้ให้ (Impart) เนื้อหา แก่ผู้เรียน มาเป็น (Facilitator) ผู้ช่วยเหลือ 3.การลงทุนในด้านของ E-Learning ต้องครอบคลุมถึงการจัดการ 4.การออกแบบ E-Learning ที่ไม่เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน

  15. ทีมพัฒนา ผู้สอน programmer ผู้เชี่ยวชาญสื่อ นักออกแบบการสอน นักออกแบบกราฟฟิค

  16. องค์ประกอบของระบบ e-Learning 2.ระบบเครือข่าย 1.กระบวนการจัดการเรียนรู้ 3. สื่อการสอน 4. การติดต่อสื่อสาร 5.บุคลากรที่เกี่ยวข้อง 6.ผู้เรียน • 7. แหล่งเรียนรู้

  17. ความรู้เบื้องต้นในการสร้าง e-Learning • Computer Literacy • HTML • Internet /Browser • e-mail

  18. Analysis Forecasting Follow-up Evaluation Design Planning Reporting Implementation Development Gathering Executing ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาเนื้อหาบทเรียน e-Learning

  19. ขั้นตอนการเรียนจากบทเรียนสำเร็จรูป CAI ขั้นกระบวน การเรียนรู้ ขั้นสะท้อนความคิด ขั้นนำ อ่านวัตถุประสงค์ ทำกิจกรรม บททบทวน ข้อสอบ เนื้อหาใหม่ เนื้อหาเก่า

  20. 165432 Chapter-1 xxx Chapter-2 yyy Chapter-3 image การจัดโครงสร้างเนื้อหา • ง่ายต่อการแก้ไข • ใช้ทรัพยากรร่วมกัน • เป็นหมวดหมู่

  21. การสร้างบทเรียน หน้าแรก สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ n จุดประสงค์การเรียน จุดประสงค์การเรียน จุดประสงค์การเรียน คำสั่ง/ใบกิจกรรม คำสั่ง/ใบกิจกรรม คำสั่ง/ใบกิจกรรม •  •  •  เนื้อหา เนื้อหา เนื้อหา แบบฝึก-แบบทดสอบท้ายบท แบบฝึก-แบบทดสอบท้ายบท แบบฝึก-แบบทดสอบท้ายบท

  22. LMS คืออะไร • LMS ย่อมาจากLearning Management Systemเครื่องมือบริหาร และเว็บไซต์สำเร็จรูป • LMS เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่บริหารจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บประกอบด้วยเครื่องมืออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้สอนผู้เรียนผู้ดูแลระบบ โดยผู้สอนสามารถนำเนื้อหาและสื่อการสอนใส่ไว้ในโปรแกรมได้สะดวก • ผู้เรียนและผู้สอนสามารถใช้เครื่องมือสื่อสารที่ระบบจัดไว้ให้ได้ทุกองค์ประกอบ • การเก็บบันทึกข้อมูล กิจกรรมการเรียนของผู้เรียนไว้บนระบบเพื่อผู้สอนสามารถนำไปวิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  23. ข้อดีของการใช้ LMS • สามารถให้ความใส่ใจกับเนื้อหาได้อย่างเต็มที่ • ผู้สอนและผู้ดูแลระบบสามารถนำไฟล์ข้อมูลประเภทต่าง ๆ เข้าไปเก็บไว้ใน LMS ได้ทันที • การควบคุมการนำเสนอบทเรียน แบบฝึกหัดและแบบทดสอบ สามารถทำได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องใช้โปรแกรมยุ่งยาก • การพัฒนาระบบ LMS ต้องอาศัยทีมงานในการออกแบบระบบให้สอดคล้องกับความต้องการของสถาบัน งบประมาณที่มีอยู่ให้เหมาะสมกับหน่วยงาน

  24. ส่วนประกอบระบบ LMS • ส่วนเนื้อหาในบทเรียน (Lecture and Presentation) • ส่วนของการทดสอบในบทเรียน (Testing) • ส่วนของการพูดคุยในห้องสนทนา (Chat) • กระดานข่าว (Web board) • ส่วนของการติดต่อผ่าน E-mail • ส่วนสนับสนุนการเรียนการสอน( การลงทะเบียนของผู้เรียน การบันทึกคะแนนของผู้เรียนการรับ-ส่งงานของผู้เรียนการเรียกดูสถิติ ของการเข้าเรียน)

  25. ตัวอย่างของ LMS • เว็บไซต์ Click2learn : LMS เป็นระบบสำหรับนำทางและจัดการเกี่ยวกับบทเรียนทั้งหมดทั้งความต้องการและกิจกรรมการเรียนการสอนที่เกิดขึ้น • CISCO e-Learning Solutions : LMS เป็นส่วนประกอบส่วนหนึ่งของ e-Learning ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกอบรมตามประสบการณ์ของตนเองซึ่งเป็นระบบที่ทำหน้าที่จัดการรายการต่าง ๆ ตั้งแต่ต้นจนจบนับตั้งแต่การลงทะเบียนการสืบท่อง (Navigation) การเลือกบทเรียนและการต่อเชื่อมเข้าระบบ

  26. ตัวอย่างของ LMS • BlackBoard • WebCT • Atutor • Moodle • LearnSquare

  27. LMS: BlackBoard (http://www.blackboard.com/quicktutorials/quicktutorials.shtm)

  28. LMS: WEBCT ( http://www.webct.com/exemplary)

  29. Open Source LCMS: Atutor (www.atutor.ca) พัฒนาขึ้นโดย ATRC (The Adaptive Technology Resource Center)ที่มหาวิทยาลัยโทรอนโท ประเทศแคนาดา ระบบนี้พัฒนาขึ้นโดยอาศัยระบบและเทคโนโลยีที่เป็นแบบ open source ทั้งสิ้น ดังนั้นในการนำไปใช้งานจึงไม่มีค่าใช้จ่ายในเรื่องซอฟต์แวร์ใดๆ นอกจากนั้น กลุ่มผู้พัฒนาได้จัดเตรียมแผนการพัฒนาปรับปรุงระบบอย่างต่อเนื่อง และจัดให้มีระบบสนับสนุนและช่วยเหลือไว้เพื่อสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบ Demo: http://www.atutor.ca/atutor/demo.php

  30. Open Source LMS: Moodle (http://moodle.org/) คู่มือ:http://www.thaiall.com/e-learning/moodle.htm Demo:http://moodle.org

  31. Open Source LMS: LearnSquare (http://www.learnsquare.com)

  32. Content Management System (CMS) หมายถึงระบบการจัดการด้านเนื้อหาซึ่งเป็นส่วนบริการสำหรับผู้ออกแบบหรือผู้พัฒนาบทเรียนในการสร้างสรรค์และนำเสนอเนื้อหาบทเรียน (เครื่องมือบริหารจัดการเนื้อหาบทเรียนรูปแบบอีเลิร์นนิ่ง ) • เนื้อหา • ส่วนของการลงทะเบียน • การรวบรวม • การจัดการเนื้อหา • การนำส่งเนื้อหา • การพิมพ์เป็นเอกสารหรือการบันทึกลงซีดีรอม

  33. ตัวอย่างซอฟแวร์และเว็บไซต์ CMS • Joomla • Postnuke/thainuke>> ww.postnukethai.com • Mambo>> www.mambohub.com • XOOPS>> www.cmsthailand.com/xoops

  34. ส่วนประกอบของ e-Learning : CMS

  35. ส่วนประกอบของ e-Learning : CMS

  36. ส่วนประกอบของ e-Learning : TMS

  37. แนวโนมของ e-Learning ตัวอยางแนวโนมของเทคโนโลยีที่นําเขามาใชรวมกับสื่อชนิดนี้คือ 1.เทคโนโลยี Multimedia 2.ระบบวีดิทัศนตามอัธยาศัย(Video On - Demand) 3.Streaming Media 4.รูปแบบของภาพกราฟกจะเปน 3 มิติ 5.การสร้างสถานการณจําลอง(Simulator) 6.มีการนําเอาเทคโนโลยีของโทรศัพทมือถือมาใชในการนําเสนอ สื่อชนิดนี้มากยิ่งขึ้น

  38. M-Learning

  39. 10 อันดับเว็บไซต์ท่าอีเลิร์นนิ่งของโลก • eLearners.com • Thomson Education Direct • SmartForce • CyberU • Digital Think • KnowledgeNet • NewHorizons • Learn2.com • elementk.com • SmartPlanet.com

  40. Learn Square คือ ระบบ e-learning ที่พัฒนา โดยศูนย์เทคโนโลยีอีเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) เป็นระบบบริหารเรียนรู้ออนไลน์ที่ผ่านระบบคอมพิวเตอร์โดยผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามอัธยาศัยทุกที่ ทุกเวลา ในรูปแบบสื่อมัลติมีเดีย http://www.nectec.or.th

  41. คำถาม/ข้อเสนอแนะ

  42. ขอบคุณทุกท่าน • และสวัสดีครับ Chaiya_aka@hotmail.com

More Related