450 likes | 650 Views
เรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่. ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ประเสริฐ ทองเจริญ ราชบัณฑิต สาขาแพทยศาสตร์ ที่ปรึกษาคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ที่ปรึกษากรมควบคุมโรค ประธานมูลนิธิส่งเสริมการศึกษาโรคไข้หวัดใหญ่ บรรยายที่โรงแรม อมารี แอร์พอร์ท ดอนเมือง วันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๒.
E N D
เรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่เรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ประเสริฐ ทองเจริญ ราชบัณฑิต สาขาแพทยศาสตร์ ที่ปรึกษาคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ที่ปรึกษากรมควบคุมโรค ประธานมูลนิธิส่งเสริมการศึกษาโรคไข้หวัดใหญ่ บรรยายที่โรงแรม อมารี แอร์พอร์ท ดอนเมือง วันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๒
Spread of Influenza Infection Three modes, relative importance currently uncertain/controversial • Small airborne particles (aerosols/droplet nuclei) • travel several metres • remain in air for many minutes or hours • prevented by high efficiency masks/ respirators • Droplets • travel short distance (~1 metre) • probably stopped by surgical masks • Contact • virus lives for a few minutes on soft surfaces or few hours on hard surfaces • transmitted by hand to face contact?
การติดต่อของโรคไข้หวัดใหญ่การติดต่อของโรคไข้หวัดใหญ่ • สัมผัสโดยตรง • สัมผัสทางอ้อม • คน-สู่-คน • จากมารดา สู่ ทารกในครรภ์ (ไข้หวัดนก) • (ข้อมูลจากประเทศจีน) (CID 2002; 34: 558-564)
การเกิดไข้หวัดใหญ่ ระบาดใหญ่ (Pandemic Influenza) เมื่อ :- 1. มีไวรัสชนิดใหม่ (คนไม่มีภูมิคุ้มกัน) 2. ก่อโรคในคน 3. แพร่กระจายจาก คน-สู่-คน ได้ง่าย (โลกอยู่ในระยะที่ 6 ตั้งแต่วันที่ 11 มิย)
ผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจของโรคไข้หวัดใหญ่ผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจของโรคไข้หวัดใหญ่ • ประชากรทั่วโลกป่วย 6-12%ต่อปี (300-700 ล้านคน) • WHO :- 3-5 ล้านคน เป็นไข้หวัดใหญ่รุนแรง • :- 250,000 – 500,000 คนเสียชีวิตต่อปี • USA :- 200,000 คน รักษาในโรงพยาบาล • :- 36,000 คน เสียชีวิตต่อปี • WHO :- 75% ของประชากรที่มีความเสี่ยงสูงควรได้วัคซีนป้องกัน • ในปี ค.ศ. 2010
ภาระโรคไข้หวัดใหญ่ สหรัฐอเมริกา ฟลูเป็นสาเหตุของการเสียชิวิต 20,000 - 40,000 คนทุกปี บางปีอาจสูงถึง 50,000 และทำให้อัตราการเข้ารับรักษาในโรงพยาบาลเกินกว่ากรณีปกติถึง 200,000 ครั้ง ทำให้เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น $750 ล้านเหรียญ ถ้าปีใดเกิดมีการระบาดก็อาจเพิ่มขึ้นสูงถึงหนึ่งพันล้านเหรียญทีเดียว
Influenza:Thailand ผู้ป่วยใน โรคปอดบวมจากฟลู • ๑๑ % ของปอดบวมที่อยู่ใน รพ. เกิดจาก ฟลู • ทุกอายุต้องหยุดงานเฉลี่ยคนละ ๖.๖ วัน (เกณฑ์ ๑-๒๖) • อัตราความชุกทุกอายุที่อยู่ รพ. ด้วยปอดบวม ๑๕-๗๖ ต่อแสนประชากร • ต่อปีมีผู้ป่วยปอดบวมทั่วประเทศ ๑๐,๖๒๓-๕๑๗๖๘ ราย ผู้ป่วยนอกที่เป็นฟลู ร้อยละ ๒๓ ของผู้ป่วย Influenza-Like Ilness (ILI) ชันสูตรได้ว่าเป็นฟลู • คนไข้ผู้ใหญ่ขาดงานคนละ ๔.๔๖ วัน • ร้อยละ ๘๔ เป็นผู้ป่วยอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี • ทั่วประเทศ ต่อปีจะมีผู้ป่วยไปขอรับการรักษาที่ รพ. ๙๒๔,๔๗๘ คน • ทั่วประเทศมีผู้ขาดงานจากฟลู ๓.๐๒ ล้านวันทำงาน หยุเรียน ๑.๗๐ ล้านวันต่อปี ข้อมูลจากบทความวิจัยของ Simmerman M.(2007)
ผู้ป่วยนอกที่เป็นฟลู ร้อยละ ๒๓ ของผู้ป่วย Influenza-Like Ilness (ILI) ชันสูตรได้ว่าเป็นฟลู • คนไข้ผู้ใหญ่ขาดงานคนละ ๔.๔๖ วัน • ร้อยละ ๘๔ เป็นผู้ป่วยอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี • ทั่วประเทศ ต่อปีจะมีผู้ป่วยไปขอรับการรักษาที่ รพ. ๙๒๔,๔๗๘ คน • ทั่วประเทศมีผู้ขาดงานจากฟลู ๓.๐๒ ล้านวันทำงาน หยุดเรียน ๑.๗๐ ล้านวันต่อปี
ข้อเท็จจริง 1. ประมาณร้อยละ ๑๑ ของผู้ป่วยปอดบวมในชุมชนเกดจากไวรัสฟลู 2. ส่วนมากไวรัสในไทยจะเป็นไวรัส เอ พบได้ตลอดปี แต่ระบาดมากอยู่ระหว่าง มิถุนายน-ตุลาคม. 3. สาเหตุของการตายมักไม่ได้ชันสูตรยืนยัน 4. ข้อมูที่มีก็พอที่จะมองเห็นภาระโรค งานวิจัยยังจำเป็นจะต้องทำเพิ่มขึ้น
Influenza cases in 2550(5 Dec 2007) รายงานทั้งปี 2093 ราย • Influenza A H1: 28 ราย, ตาย 1 • Influenza A H3: 598 ราย, ตาย 12 Influenza B: 73 ราย, ตาย 1 • Influenza A H5: 1รายและตาย
Morbidity and mortality of pneumonia, Thailand ป่วย(100,000 pop.) ตาย(100,000 pop.) Initiation of AI surveillance ที่มา: รายงาน 506
Pneumonia incidence by province 2006 ที่มา: รายงาน 506
หน่วยสอบสวนเคลื่อนที่เร็วหน่วยสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว โรงพยาบาล เครือข่ายการเฝ้าระวัง ห้องชันสูตร สัตวแพทย์ พยาธิแพทย์
Seasonal Influenza A in Outpatients June-October June-October 2003 2004 2005
Influenza B in Outpatients Nov-Dec Jan-Apr 2003 2004 2005
Burden of Influenza From Simmerman M., Lertiendumrong J et al. (2006)
Pandemic Influenza – Medical Intervention • Pharmaceutical Intervention • : Antiviral agents – treatment, prevention • : Pandemic Vaccine – most important • (time consuming) • 2. Non-Pharmaceutical Intervention • : General advices – hand washing • : Masking – surgical mask, N95 respirator • : Social distancing
Currently Available Vaccines • Inactivated Influenza vaccine (egg-based) • Whole virus vaccine • Split vaccine • Subunit vaccine • Live Attenuated Influenza vaccine
Trivalent Inactivated Vaccines (TIV) Whole virus Split virus Subunit
ข้อจำกัดของวัคซีนไข้หวัดใหญ่ข้อจำกัดของวัคซีนไข้หวัดใหญ่ • ต้องให้วัคซีนทุกปี • ต้องให้โดยการฉีด • สายพันธุ์ในวัคซีนอาจไม่ตรงกับสายพันธุ์ที่กำลังระบาด (สายพันธุ์ขั้วโลกเหนือ-ใต้) • วัคซีนมีอายุสั้น
แมคฟาร์แลนด์ เบอร์เน็ทท์ เป็นผู้พบวิธีเพาะเชื้อในไข่ไก่ฟักในภายหลัง เบอร์เน็ทท์ ได้รับการสถาปนาให้เป็นเซอร์และได้รับรางวัลโนเบลในเวลาต่อมา
Sir McFaland Burnet & เซ่อ (ซ่า) ประเสริฐ ถ่ายที่แคนเบอร์รา
โครงการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ (Pandemic) ในประเทศไทย 1. เพิ่มการใช้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ (seasonal) บุคลากรแข็งแรง ลด reassortment พัฒนาระบบ 200,000 โด๊ส/ปี 2. เพิ่มศักยภาพในการผลิตใช้เอง โรงงานต้นแบบ ความร่วมมือกับต่างประเทศ 3. เพิ่มศักยภาพในการวิจัย การวิจัยทางคลินิก พัฒนาเชื้อไวรัสตั้งต้น
Flu vaccine for human • วัคซีนที่ใช้ในซีกโลกเหนือ Northern hemisphere • วัคซีนที่ใช้ในซีกโลกใตั Southern hemisphere
Dosage Influenza vaccine dosage, by age group Age group Dose Number of doses Route 6-35 mos* 0.25 ml 1 or 2 ll Intramuscular 3-8 yrs 0.50 ml 1 or 2 ll Intramuscular >9 yrs 0.50 ml 1 Intramuscular * For age group 6 - 35 months: Split or subunit vaccine only
Vaccine for AI in human • NIL • Human A virus: H1, H2, H3; N1, N2 • Avian A virus: H1 – 15; N1- N9 • Current outbreaks of AI: H7, H9, H5; N1, N2, N7
สรุป:- ปัญหาของ Pandemic Vaccines • ยังไม่ทราบสายพันธุ์เชื้อไวรัสจนกว่าจะเริ่มระบาด • ขีดความสามารถในการผลิตยังต่ำมาก • วัคซีนต้องใช้ 2 โด๊ซเพราะไม่เคยมีภูมิคุ้มกันมาก่อน • ปริมาณ antigen สูงกว่าปกติ ทำให้ครอบคลุมจำนวนประชากรต่ำ • ความครอบคลุมคนทั่วโลก > 6000 ล้านคนเป็นไปได้ยากมาก (WHO/IVB/06.13: WHO/CDS/EPR/GIP/2006.1)
“การเตรียมตัวต่อสู้ไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่ของประชาชน”“การเตรียมตัวต่อสู้ไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่ของประชาชน” • ล้างมือ ล้างมือ ล้างมือ • มารยาทในการไอ จาม • เตรียมความพร้อมในการทำงานอยู่กับบ้าน ไม่ออกนอกบ้าน ดูแล.....
วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ • เป็นมาตรการที่สำคัญที่สุดในการควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ • ประชากร 1000 ล้านคนทั่วโลก “เสี่ยง” • วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประกอบด้วย H1N1, H3N2, B • ใช้เวลาผลิตประมาณ 6-8 เดือน • มีการเปลี่ยนแปลงแอนติเจนเล็กน้อยทุกปี (antigenic drift) • บุคคลต่างๆ โดยเฉพาะที่เสี่ยงควรฉีดทุกปี
มาตรการในการต่อสู้ “Pandemic Influenza” • “รู้เร็ว” - แพทย์ พยาบาล นักระบาด ทุกระดับ • - lab. พร้อมรับมือ • 2. “รักษา – ป้องกันเร็ว” • - แพทย์ พยาบาล นักระบาด ทุกระดับ • - โรงพยาบาลพร้อมรับมือ • - ยาต้านไวรัสพร้อมรักษา-ป้องกัน • 3. “ควบคุมโรคเร็ว” • - Pandemic vaccine สำหรับคนทั่วไป
ทำไมประเทศไทยจึงมีนโยบาย “ไม่ให้วัคซีนแก่สัตว์ปีก” • ไม่มั่นใจในคุณภาพของวัคซีน • ไม่มั่นใจในวินัยของระบบ biosecurity • ขาด marker สำคัญในการเฝ้าระวังในสัตว์ปีกป่วย/ตาย • ขาดความเชื่อมั่นในผลผลิตอุตสาหกรรมสัตว์ปีก • ประสิทธิภาพของวัคซีนเพียงลดการตาย ไม่ลดการติดเชื้อ มี viral shedding
วัคซีนในอนาคต 1. ผลิตโดยใช้เซลล์เพาะ 2. ภูมิคุ้มกันกว้างขวาง 3. เก็บได้นานหลายปี อาจเป็นผงแห้ง 4. เปลี่ยนจากฉีดเป็น – สูดดม (ยานัตถุ์), ถูทาหรือแปะ (กอเอี๊ยะ)