1.24k likes | 1.53k Views
การบริหารการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อก้าวเข้าสู่ ประชาคมอาเซี่ยน. ดร. สมบัติ สุวรรณพิทักษ์ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๔. มุ่งพัฒนาประเทศไทยสู่ “ สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน
E N D
การบริหารการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซี่ยนการบริหารการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซี่ยน ดร. สมบัติ สุวรรณพิทักษ์ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๔
มุ่งพัฒนาประเทศไทยสู่ “สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน (Green and Happiness Society) คนไทยมีคุณธรรมนำความ รอบรู้ รู้เท่าทันโลก ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง สังคมสันติสุข เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพ และเป็นธรรม สิ่งแวดล้อมมีคุณภาพ และทรัพยากรยั่งยืน อยู่ภายใต้ระบบบริการจัดการประเทศที่มีธรรมาภิบาล ดำรงไว้ซึ่งระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และอยู่ในประชาคมโลกได้อย่างมีศักดิ์ศรี”
วิสัยทัศน์ประเทศไทยปี พ.ศ. 2570 “คนไทยภาคภูมิใจในความเป็นไทย มีมิตรไมตรีบนวิถีชีวิตแห่งความพอเพียง ยึดมั่นในวัฒนธรรมประชาธิปไตย และหลักธรรมาภิบาล การบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานที่ทั่วถึง มีคุณภาพ สังคมมีความปลอดภัยและมั่นคง อยู่ในสภาวะแวดล้อมที่ดีเกื้อกูลและเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ระบบการผลิตเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน อยู่บนฐานทางเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองและแข่งขันได้ในเวทีโลกสามารถอยู่ในประชาคมภูมิภาคและโลกได้อย่างมีศักดิ์ศรี”
สังคมไทยที่พึงปรารถนาในอนาคตสังคมไทยที่พึงปรารถนาในอนาคต • คนมีความสุข ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข็มแข็ง • ทุกคนมีโอกาสพัฒนาศักยภาพของตนเอง ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ • มารดา ได้รับการศึกษาพื้นฐาน 12 ปี • ทุกคนมีขีดความสามารถพร้อมที่จะปรับตัวเข้ากับกระแสการ • เปลี่ยนแปลง ได้รับการศึกษา มีงานทำ มีการพัฒนาศักยภาพของ • ตนเอง อยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่า ตลอดช่วงวัยของชีวิต • ชุมชน สังคม เศรษฐกิจพอเพียง
วิสัยทัศน์สังคมไทยที่พึงประสงค์ในอนาคตวิสัยทัศน์สังคมไทยที่พึงประสงค์ในอนาคต - สังคมแห่งการเรียนรู้เพื่อเติมเต็มชีวิตการเป็นมนุษย์ - รู้เท่าทันโลก แบ่งปัน ร่วมมือเป็น - คนมีความสุข ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข็มแข็ง สังคมสันติ เศรษฐกิจสมดุล - สิ่งแวดล้อมยั่งยืน - ประเทศมั่นคง สันติ TEXT TEXT TEXT TEXT
การศึกษาตลอดชีวิต • Learning to know (รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง,ฝึกวิธีการเรียนรู้) • Learning to do (สามารถปฏิบัติจริง ใช้ได้จริง) • Learning to live together, Learning to live with others (ทำงานร่วมกับผู้อื่น) • Learning to be (อยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข,ความเป็นมนุษย์,บุคลิกภาพ)
Increase in Recognition of Lifelong Learning “The concept of ‘lifelong’ education has arisen in the face of these new needs and is receiving increasing acceptance. But experience indicates that to add additional educational opportunities for adults in a piecemeal fashion, following their earlier formal education, does not provide us necessarily with an educational structure satisfactory for today’s needs. …Education must be seen as ‘totality’.” The Third International Committee on the Advancement of Adult Education (Paris, 1965)
ACCU programmes to romote LLL Just, Peaceful and Sustainable Society Community Development Personal & Professional Development ACCU vision ACCU Programme <Lifelong> ACCU Projects NFE *Materials Development Sustainable Development Life skills, Livelihood skills *Capacity Building Professional, Institutional Development *Networking NFE policy makers and implementers IFE <Life-wide> From now on… More organic links? More policy dialogues?
Global Learning Society • Open Education • Open Sources Regional Network • ARTC • EFA TWG • ALADIN Community Important Roles of Non-formaland Informal Learning NGOs Private Sector Workplace Training Formal Education Tertiary Ed Vocational Ed Secondary Ed Primary Ed ECCE Non Formal Education LRC, CLC etc Home Equivalency The Government
LLL New NFE Continuing Education Cultural centres Media education Libraries, museums, self-learning groups Basic Education Lifelong and Life-wide Learning - Future Scenario -(By Prof. Chiba, ICU, a former UNESCO ADG) Formal – Non-formal – Informal Education H SS JS Self- study Primary CLC Equivalency CLC ECCE
Individual enrichment & empowerment Culture of Learning Contribution to Society Towards a Learning Society In Concluding… (By Prof. Chiba, ICU, a former UNESCO ADG) - Future Scenario - Social transformation
วิสัยทัศน์การพัฒนาการศึกษาในอนาคตวิสัยทัศน์การพัฒนาการศึกษาในอนาคต • - พัฒนาคนให้เป็นผู้ใฝ่รู้ รู้จักคิดวิเคราะห์ ใช้เหตุผล มีจินตนาการ • ความคิดสร้างสรรค์ ฯลฯ • - แนวคิดของการพัฒนาการศึกษา • เน้นกระบวนการให้ผู้เรียนรู้จักการเรียนรู้ในรูปแบบที่ • หลากหลาย • รักการเรียนรู้ตลอดชีวิต • เป็นการศึกษาที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง • ให้โอกาสทุกคนได้มีการศึกษาอย่างทั่วถึง • ระดมทรัพยากรทุกภาคส่วน
กลไกสำคัญในการพัฒนาประเทศ คือ คน • การพัฒนาต้องพัฒนาคนให้เป็น มนุษย์ที่สมบูรณ์ ไม่ใช่เป็นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเดียว • การศึกษาที่พึงประสงค์ คือ • - การศึกษาที่ทำให้คนไทยเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ • - เป็นการศึกษาตลอดชีวิต • - การศึกษาต้องทำให้คนได้วิธีการเรียนรู้เป็นเครื่องมือติดตัว www.themegallery.com
ปฎิรูปการศึกษาไทย รอบสอง • “คนไทยได้เรียนรู้คลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ” • เป้าหมาย 3 ด้าน • คุณภาพ ---สร้างคุณภาพใหม่ (คุณภาพครู,คุณภาพแหล่งเรียนรู้,คุณภาพสถานศึกษา,คุณภาพบริหารจัดการ,คุณภาพนักเรียน/นักศึกษา • โอกาส—ให้โอกาสกับทุกกลุ่ม โดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาส ผู้พอการ คนชายขอบ ฯลฯ • การมีส่วนร่วม—เน้นทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม อย่างเป็นรูปธรรม
เป้าหมายด้านการศึกษาและสังคมเป้าหมายด้านการศึกษาและสังคม • การปรับโครงสร้างทางสังคมรองรับการเปลี่ยนแปลงและเชื่อมโยงกับการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ • ปฏิรูปโครงสร้างการลงทุนด้านสังคม • กำหนดนโยบายประชากรให้มีโครงสร้างที่สมดุลมีคุณภาพและมีการกระจายตัวที่สอดคล้องกับศักยภาพและโอกาสของพื้นที่ • การเพิ่มผลิตภาพของสังคมไทยอย่างเป็นระบบ • การพัฒนาสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม มีความน่าอยู่และมีความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สิน
เป้าหมายด้านการศึกษาและสังคมเป้าหมายด้านการศึกษาและสังคม • การส่งเสริมสถาบันครอบครัวและชุมชนในกระบวนการพัฒนา • การพัฒนาและเสริมสร้างบทบาทสถาบันครอบครัว • การเพิ่มบทบาทชุมชนให้เป็นกลไกหลักในการแก้ปัญหาและจัดการชุมชนด้วยตนเอง บนพื้นฐานของทุนและความหลากหลายที่ชุมชนมีอยู่
เป้าหมายด้านการศึกษาและสังคมเป้าหมายด้านการศึกษาและสังคม • การพัฒนาคนให้เหมาะสมตามช่วงอายุ และสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสภาพสังคมในอนาคตการพัฒนาและเสริมสร้างบทบาทสถาบันครอบครัว โดย • การปฏิรูปการเรียนรู้ • การพัฒนาคุณภาพของประชากรวัยเด็กให้ทั่วถึง • การเพิ่มผลิตภาพแรงงานที่มีความสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภาคการผลิตและบริการ เทคโนโลยี • การสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมในกลุ่มผู้สูงอายุ
การศึกษาและสังคมในแผน 11 (2555-59) www.themegallery.com
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการศึกษาไทยในอนาคตปัจจัยที่ส่งผลต่อการศึกษาไทยในอนาคต กระแสโลกาภิวัตน์ การเลื่อนไหลของคน ทุน ความรู้ เทคโนโลยีและสินค้าอย่างเสรี ไร้พรมแดน ส่งผลต่อคุณภาพคนและสังคมไทย ระดับการศึกษาของคนไทยสูงขึ้น ขณะที่มีคุณธรรม จริยธรรมลดลง คนไทยมีอายุยืนยาวขึ้น แต่มีการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่มีสาเหตุจากพฤติกรรมการดำรงชีวิตที่ไม่เหมาะสมเพิ่มขึ้น สถาบันครอบครัวอ่อนแอ ไม่สามารถทำบทบาทหน้าที่ได้อย่างเหมาะสม
กระแสการพัฒนาเศรษฐกิจแบบทุนนิยม การกระจายการพัฒนาและการขยายตัว ของเมือง ส่งผลต่อสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประชาชน คนไทยมีรายได้สูงขึ้น แต่การกระจายรายได้ยังขาดความเป็นธรรม ส่วนแรงงานนอกระบบยังขาดหลักประกันความมั่นคงในชีวิต การกระจายการพัฒนาระหว่างพื้นที่ และระหว่างเมืองกับชนบทมีความเหลื่อมล้ำก่อให้เกิดช่องว่างทางความรู้ ความคิดของประชาชนมากขึ้น ความไว้วางใจและการช่วยเหลือเกื้อกูลกันในสังคมลดลง กระทบต่อทุนทางสังคมโดยรวมของประเทศ ชุมชนมีความเข้มแข็งเพิ่มขึ้น
การสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบันและระหว่างประเทศ และการร่วมสร้างสรรค์ทางสังคม กระตุ้นให้เกิดการตื่นตัวเรื่องจิตสำนึกสาธารณะ การมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา การรักษาสิทธิของตนเองและผู้อื่น และธรรมาภิบาลภาคเอกชน คนไทยมีจิตสำนึกสาธารณะ มีความตื่นตัวในการรักษาสิทธิของตนเองมากขึ้น แต่เคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่นลดลง ประเทศไทยมีสถาบันธุรกิจเอกชนที่ทำงานเพื่อสังคม และบรรษัทภิบาลเพิ่มขึ้น แต่ยังอยู่ในระดับต่ำเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรไทยจากยุคเบบี้บูม สู่สังคมผู้สูงอายุ ส่งผลให้ต้องมีการปรับเปลี่ยนการลงทุนทางสังคมให้เหมาะสม
ปัจจัยด้านความอ่อนแอของสังคมไทยเป็นผลจากความไม่สมดุลของปัจจัยด้านความอ่อนแอของสังคมไทยเป็นผลจากความไม่สมดุลของ โครงสร้างและการนำไปปฏิบัติ ความไม่สมดุลเชิงโครงสร้างสังคมในด้านต่างๆ ---โครงสร้างการกระจายทรัพยากรและความมั่งคั่งมีความเหลื่อมล้ำ , การกระจายอำนาจยังไม่ครอบคลุมถึงสิทธิของประชาชนในการมีส่วนร่วมจัดการทรัพยากรท้องถิ่น และการมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นของตนเอง , การกระจายโอกาสในการเข้าถึงสิทธิประโยชน์ต่างๆ ของรัฐยังไม่ทั่วถึง ความไม่ชัดเจนกลไกกฎหมาย และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ ด้านวัฒนธรรม การปฏิรูปทางสังคมที่ผ่านมาทำให้สังคมไทยมีแนวโน้มแยกเป็นส่วน ๆ มากขึ้น
ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเมือง การมีสิทธิ และ การมีส่วนร่วมทางการเมือง โครงสร้างอำนาจในการบริหารจัดการทางการเมืองและสังคมขาดความสมดุล ประชาชนยังมีบทบาทจำกัด การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นยังล่าช้า ไม่สะท้อนความต้องการของประชาชน โอกาสและการมีส่วนร่วมในเข้าถึงและจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมไม่เท่าเทียมกัน รัฐธรรมนูญ กฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ มีความเป็นสากลสูง อยู่บนพื้นฐานของเสรีภาพและเสมอภาคแบบแนวคิดตะวันตก แต่ไม่สอดคล้องค่านิยมในบริบทไทย ระบบการพัฒนาประชาธิปไตยและธรรมาภิบาลแบบตะวันตกไม่สอดคล้องกับค่านิยมพื้นฐานแบบไทย มูลเหตุจูงใจให้เกิดความขัดแย้งเกิดจากแต่ละฝ่ายเชื่อว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมจากสังคม
นำเก่ง / ตามเป็น • เป็นตัวเอง / เป็นหมู่คณะ • สามารถแข่งขัน / รู้จักพอดี • ใฝ่รู้วิทยาการใหม่/ชื่นชมเอกลักษณ์วัฒนธรรมเดิม • พัฒนาการทำงาน/พัฒนาสุนทรียภาพ • รักตัวเอง/รักเพื่อนมนุษย์และรักธรรมชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคม แห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคนให้มีคุณธรรมนำความรู้ เกิดภูมิคุ้มกัน โดยพัฒนาทางจิตใจควบคู่กับการพัฒนาการเรียนรู้ของคนทุกกลุ่มวัยตลอดชีวิต และสามารถจัดการกับองค์ความรู้ ทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นและองค์ความรู้สมัยใหม่เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม พร้อมทั้งเสริมสร้างสุขภาวะคนไทยให้มีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ และอยู่ในสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ โดยเน้นการพัฒนาระบบสุขภาพครบวงจร และเสริมสร้างคนไทยให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขดำรงชีวิตอย่างมั่นคงทั้งในระดับครอบครัวและชุมชน สร้างโอกาสในการเข้าถึงแหล่งทุน ส่งเสริมการดำรงชีวิตที่มีความปลอดภัย น่าอยู่ บนพื้นฐานของความยุติธรรมในสังคม
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสติปัญญา ทักษะ และฝีมือแรงงาน • ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต • - ปฎิรูปกระบวนการสอนให้ผู้เรียนรู้จักคิด วิเคราะห์อย่างมีเหตุผล • - มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ฯลฯ • - จัดกิจกรรมที่สัมพันธ์กับสังคม • - สนับสนุน ค้นคว้าความรู้จากสื่อและแหล่งเรียนรู้ในชุมชน • - สนับสนุนการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น • - สนับสนุนการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง(เครือข่าย) • - ปรับปรุงระบบการวัดผลสัมฤทธิ์,การเสนอคัดเลือก • - ปฎิรูประบบการผลิตและพัฒนาครูอาจารย์ • คัดเลือก อบรม และสร้างจิตสำนึก
ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความเข็มแข็งของครอบครัวยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความเข็มแข็งของครอบครัว • และชุมชน • การปฎิรูปกระบวนการเรียนการสอนทั้งในโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน • การส่งเสริมการการใช้สื่อสารมวลชนเพื่อพัฒนาศักยภาพของครอบครัว • การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ของชุมชนอย่างเป็นระบบ • องค์กรทางสังคม อาทิ บ้าน วัด โรงเรียน
ประเด็นท้าทายของการจัดการศึกษาตลอดชีวิตประเด็นท้าทายของการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ประเด็นท้าทายของการจัดการศึกษาตลอดชีวิต 1. กลุ่มเป้าหมายมีมาก หลากหลาย เกินความสามารถในการ จัดกิจกรรมตอบสนอง 2. พื้นที่กระจัดกระจายยากต่อการจัดให้ทั่วถึง ครอบคลุม 3. ขาดการประสานงาน 4. ขาดการกระจายอำนาจ 5. บุคลากรขาดความรู้ และ ประสบการณ์ 6. มีความซ้ำซ้อน
ประเด็นท้าทายของการจัดการศึกษาตลอดชีวิต (ต่อ) 7. ขาดการระดมทรัพยากร 8. ขาดข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย 9. เนื้อหารูปแบบกิจกรรมไม่ยืดหยุ่น 10. ขาดการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล 11. ขาดการวิจัย และพัฒนากิจกรรมใหม่ๆ www.themegallery.com
21 ประเด็นของการศึกษาไทยแนวใหม่ 1. ให้บริการที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย สอดคล้องกับ ความต้องการ และความแตกต่างระหว่างบุคคล 2. รูปแบบ กิจกรรม ต้องหลากหลาย 3. ปฏิรูปวิธีการคิดและการทำงาน 4. ศูนย์บริการที่มีชีวิต (Living Lifelong Learning Center) 5. ให้เครือข่ายชาวบ้านจัดเองมากยิ่งขึ้น
6. ปรับหลักสูตรเป็น Mosaic หรือ Tailor-made 7. มีการเทียบระดับ มีการเทียบโอนการเรียน เทียบโอนความรู้ ประสบการณ์ 8. หลักสูตรต้องมีความยืดหยุ่น (Flexible learning) 9. ระดมทรัพยากรทุกภาคส่วน 10. ส่งเสริมการเรียนการสอนทางไกล และการเรียนเป็นกลุ่ม 11. บูรณาการเรียนรู้กับกิจกรรมในวิถีชีวิต www.themegallery.com
21 ประเด็นของการศึกษาไทยแนวใหม่ 12. ต้องสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้พัฒนาทีมงาน , กำหนดเป้าหมาย องค์กร, กิจกรรมขององค์กร, เกิดการเรียนรู้ 13. ขยายบริการการศึกษาในวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยสำหรับผู้ใหญ่ 14. ปรับปรุงและพัฒนารูปแบบกิจกรรมให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 15. จัดการศึกษาในลักษณะองค์รวม - ครอบครัวกับโรงเรียน ครอบครัวกับระบบการศึกษา - บ้าน,วัด,โรงเรียน,ชุมชน,สังคม 16. ระดมสถานกำลังในการจัดการศึกษา
21 ประเด็นของการศึกษาไทยแนวใหม่ 17. พัฒนาและเชื่อมโยงแหล่งเรียนรู้และแหล่งความรู้ 18. พัฒนาปรับปรุง ครู ความรับผิดชอบ,บทบาทหน้าที่,ความรู้ และทักษะ,วิสัยทัศน์,การอบรม 19. การใช้สารสนเทศ 20. สร้างเครือข่าย ความร่วมมือในทุกระดับ ความช่วยเหลือ 21. การมีส่วนร่วมของท้องถิ่น
- สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ • เรียนได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกคน • - ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ • - ใช้เทคโนโลยีโทรคมนาคม • ใช้ระบบการเรียนรู้ของชุมชน,สร้างเครือข่ายแห่งการเรียนรู้ • ให้องค์กรท้องถิ่นมีส่วนร่วม • ใช้การศึกษานอกระบบ,เทียบโอนความรู้และประสบการณ์ • - ปรับแนวความคิดการศึกษาไม่ใช่การแพ้คัดออก ทุกคนชนะในลู่ของตนเอง
เครือข่าย เป็นกระบวนการของการจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคลากร ชุมชน องค์กร ให้เกื้อกูลและเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน เพื่อการดำเนินงาน ให้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง โดนมีหลักการและแนวปฏิบัติร่วมกัน องค์ประกอบของเครือข่าย เป้าหมาย, หลักการ , วิธีการปฏิบัติ , โอกาสการเรียนรู้, กลไกการดำเนินงาน การใช้ทรัพยากร ประเภทของเครือข่าย - เครือข่ายภาครัฐ - เครือข่ายภาคเอกชน - เครือข่ายบุคคล - เครือข่ายชุมชน ประชาชน
กำหนดนโยบาย • จัดทำแผนแม่บท • กำหนดมาตรฐานกิจกรรม • จัดตั้งกองทุนส่งเสริม • สร้างแรงจูงใจ • จัดทำสัญญาข้อตกลง • จัดระบบสนับสนุน • จัดรับข้อมูล • จัดระบบประชาสัมพันธ์ • พัฒนาบุคลากร
ยุทธวิธีที่ 1 การสนองความต้องการของผู้เรียน - ทำให้ผู้เรียนเห็นว่าการเรียนรู้มีความหมายและสามารถนำไปใช้ในชีวิตได้ เป็นการปูทางนำไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต - ใช้วิธีการให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง, ใช้การเรียนการสอนในสถานที่จริง การใช้การสอนแบบธรรมชาติ(non-traditional) การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ยุทธวิธีที่ 2 พัฒนาปัจจัยสนับสนุนสำหรับการเรียนรู้ชีวิตตลอดชีวิต - ใช้ทรัพยากรท้องถิ่น - การประชาสัมพันธ์กับโปรแกรมอื่น - การสร้างเครือข่าย - การให้เอกชน ชุมชนมีส่วนร่วมแบบ Partnership - การสนับสนุนทางวิชาการ
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตลอดชีวิต (ต่อ) ยุทธวิธีที่ 3 จัดโปรแกรมที่หลากหลายโดยคำนึงถึงความแตกต่างของผู้เรียน - ผู้เรียนที่มีสถานภาพทางเศรษฐกิจแตกต่างกัน - ผู้เรียนที่มีพื้นฐานความรู้แตกต่างกัน - ผู้เรียนที่มีฐานะทางสังคมแตกต่างกัน - ต้องค้นหาความแตกต่าง จุดเด่น มาใช้ประโยชน์และตอบสนองความแตกต่างเหล่านั้น ยุทธวิธีที่ 4 พัฒนาทักษะการคิดที่สูงขึ้น - จัดโปรแกรมที่จะช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาทรัพยากร การใช้เหตุผล การแก้ปัญหา และการตัดสินใจ การวิเคราะห์และประเมิลข่าวสารข้อมูล - การพัฒนาข้อมูลและสถานการณ์ในทางสร้างสรรค์ และมีจินตนาการใหม่ๆ ฝึกทักษะการคิดแก้ปัญหาในชีวิตจริง
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตลอดชีวิต (ต่อ) ยุทธวิธีที่ 5 ต้องให้ผู้เรียนใช้ทักษะที่มีอยู่ในชีวิตประจำวัน - จัดโปรแกรมที่ทำให้ผู้เรียนได้ใช้ พัฒนาทักษะการอ่าน การเขียน การพูด การฟังที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน - ส่งเสริมให้มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนในกระบวนการเรียนรู้ทุกกิจกรรมที่มีความหมายและเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน
1.หลักการ -ยืดหยุ่น หลากหลาย -ทั่วถึง ต่อเนื่อง -สอดคล้อง -ร่วมมือทุกภาคส่วน -ระดมทรัพยากร 2.กลุ่มเป้าหมาย -ทุกกลุ่มประชากร -ทุกเพศทุกวัย การศึกษา ตลอดชีวิต 3.การจัดการเรียนรู้ -ทุกภาคส่วนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ -ใช้แหล่งเรียนรู้ -ใช้สื่อเทคโนโลยีทุกประเภท -หลักสูตรหลากหลายสัมพันธ์กับ ชีวิต -ใช้การเทียบโอนความรู้และ ประสบการณ์ -จัดการศึกษาทุกรูปแบบ ในระบบ,นอกระบบ ,อัธยาศัย 4.เป้าหมายสุดท้าย -ประชาชนได้รับการศึกษา และมีโอกาสในการเรียนรู้ทุก ช่วงวัยอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต -ประชาชนได้รับการพัฒนา ความรู้ทักษะ และอุดมคติ เพื่อสามารถการดำเนินชีวิต ได้อย่างเป็นสุข www.themegallery.com
กศน. ในยุคเปลี่ยนแปลง สำนักงาน กศน. • ต้องคิดใหม่ ทำให้ใหม่ เพื่อให้มีการขยับไม่หยุดนิ่ง • บุคลากรต้องมีความพร้อมที่จะทำงานในองค์กรยุคใหม่
P-people คนทำงานจะเป็นอย่างไรP-people คนทำงานจะเป็นอย่างไร P-package ชุดการเรียนเป็นอย่างไร P-power สร้างบารมีอย่างไร P-positioning จะลงตำแหน่งอย่างไร
เป้าหมายการเรียน กศน. • การให้ค่านิยม การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม • จะสอนรูปแบบการดำเนินชีวิตอย่างไร สอนเป็นผู้บริโภค หลักคิดปรัชญาชีวิต มนุษย์จะต้องเรียนชีวิตด้วย จะจบวิชาการได้อย่างเดียว ไม่ได้ รูปแบบการเรียน กศน. จะต้องเป็น Edutainment เรียนไปสนุกไป