270 likes | 542 Views
เมนบอร์ดและระบบบัส. (Mainboard & Bus). ส่วนประกอบหลักบนเมนบอร์ด. ซ๊อกเก็ตสำหรับซีพียู chip set ซ๊อกเก็ตหน่วยความจำ ระบบบัสและสล๊อต BIOS สัญญาณนาฬิกา พอร์ตต่าง ๆ ขั้วต่อ จัมเปอร์. การเลือกเมนบอร์ด. ซีพียู และชิปเซ็ต RAM เช่น DDR, DDR II, Rambus(RDRAM)
E N D
เมนบอร์ดและระบบบัส (Mainboard & Bus)
ส่วนประกอบหลักบนเมนบอร์ดส่วนประกอบหลักบนเมนบอร์ด • ซ๊อกเก็ตสำหรับซีพียู • chip set • ซ๊อกเก็ตหน่วยความจำ • ระบบบัสและสล๊อต • BIOS • สัญญาณนาฬิกา • พอร์ตต่าง ๆ • ขั้วต่อ • จัมเปอร์
การเลือกเมนบอร์ด • ซีพียู และชิปเซ็ต • RAM เช่น DDR, DDR II, Rambus(RDRAM) • โครงสร้างของเมนบอร์ด (Form Factors) • BIOS ควรเป็น flash BIOS • สล๊อต AGP (2x, 4x, 8x) • สล๊อต PCI • โปรแกรม upgrade
ซ๊อคเก็ตสำหรับ CPU • Pentium 4 Northwood Socket 478 • Pentium 4 Willametee Socket 432 • Pentium III Tualatin/Coppermine และ Celeron Socket 370 • Pentium III, Pentium II Slot 1 และ Slot 2 • Athlon ของ AMD Slot A • Pentium Pro Socket 6 • Pentium MMX, AMD K5,K6 Socket 7 • Pentium Socket 5
ซ๊อคเก็ตสำหรับหน่วยความจำซ๊อคเก็ตสำหรับหน่วยความจำ • ยุค 486 เป็นแบบ 30 ขา บัสข้อมูล 8 บิต • DRAM, EDO RAM เป็นแบบ 72 ขา บัสข้อมูล 32 บิต • DDR-SDRAM เป็นแบบ 184 ขา บัสข้อมูล 64 บิต สำหรับ Pentium ต้องการหน่วยความจำแบบ 64 บิต ถ้าเมนบอร์ตเป็นแบบ 32 บิต จะต้องใช้ครั้งละคู่
ชิปเซ็ต • ควรพิจารณาว่าชิปเซ็ตนั้นรองรับกับ RAM แบบใด ระบบบัสแบบใด
ระบบบัสและสล๊อต • AT-Bus ถูกออกแบบให้ CPU เป็นตัวควบคุมบัส มีโอกาศน้อยที่อุปกรณ์อื่น ๆ จะทำ DMA (Direct Memory Access) ได้ • ISA (Industry Standard Architecture) • EISA (Extended ISA), MCA (MicroChannel) • Local bus ทำงานที่ความถี่สูงจึงมีจำนวนบัสไม่มาก • VL-Bus (VESA Local bus) • PCI (Peripheral Component Interconnect) • AGP เป็นบัสที่พัฒนาต่อจาก PCI ย่อมาจาก Accelerated Graphic Port มีความเร็วเท่ากับ 66 MHz หรือ 266 MB/sec (66x4ไบต์) • AGP Pro
Local Bus • เป็นระบบบัสที่มีเส้นสายสัญญาณเชื่อมต่อโดยตรงกับไมโครโปรเซสเซอร์ ทำให้มีอัตราเร็วและขนาดบิตข้อมูลเท่ากับไมโครโปรเซสเซอร์
PCI Slot • เป็น Local Bus ชนิดหนึ่งที่เชื่อมต่อกับบัสของไมโครโปรเซสเซอร์ผ่านทาง PCI Chipset • มีสองแบบคือแบบ 32 บิต และแบบ 64 บิต • PCI 2.0 มีความเร็ว 30-33 MHz, PCI 2.1 มีความเร็ว 66 MHz • ทำงานแบบ Plug and Play • ทำงานหลายสล๊อตได้ในเวลาเดียวกัน เรียกว่า Concurrent Bus PCI • มีระบบตรวจสอบความผิดพลาดขณะรับส่งข้อมูล
AGP(Accelerated Graphics Port) • อินเตอร์เฟสของการ์ดแสดงผลที่มีความเร็วสูง • มีความกว้าง 32 บิต ทำงานที่ความถี่ 66 MHz ดังนั้นสามารถส่งข้อมูลได้ 254.3 Mbyte/s
ขั้วต่อและพอร์ตต่าง ๆ • ขั้วต่อแหล่งจ่ายไฟ,ขั้วต่อ IDE(40 ขา) • พอร์ตอนุกรมและขนาน (COM1,COM2 และ Parallel) • พอร์ตคีย์บอร์ตและเมาส์ • DIN-type, miniature DIN, PS/2 • USB,Firewire • USB 1.1 มีความเร็ว 12 Mbps , USB 2.0 มีความเร็ว 480 Mbps • Firewire หรือ IEEE 1394
โครงสร้างของบัส CPU Front Side Bus (บัสของ CPU) cache ชิปเซ็ต DRAM PCI บัส แปลง PCI เป็น IDE/ISA CD/ROM SP ISA บัส
พอร์ต (Port) • พอร์ตอนุกรม (Serial Port) • พอร์ตขนาน (Parallel Port) • PCMCIA • Universal Serial Bus (USB) • FireWire • IrDA • Bluetooth
พอร์ตอนุกรม • มีสายสัญญาณเพียงสองเส้นก็ใช้ได้ ที่รู้จักกันดีในคอมพิวเตอร์ PC คือ พอร์ต RS-232 ที่ใช้คอนเน็กเตอร์แบบ 9 pin และแบบ 25 pin ซึ่งสามารถส่งข้อมูลได้ถึง 115.2 kbps หรือ 11.5 kBps (1 ไบต์ใช้ 10 บิต)
พอร์ตขนาน • พอร์ตขนานของเครื่องพิมพ์ ส่งข้อมูลได้ 50 - 150 kB/s • มาตรฐาน IEEE 1284 ได้กำหนดให้พอร์ตขนานทำงานเป็นแบบ Bidirectional สามารถทำงานได้ที่ความเร็ว 1.38 Mbyte/s ที่ความถี่ 8.33 MHz • Enhanced Parallel Port (EPP) เป็นมาตรฐานที่เกิดก่อน IEEE 1248 โดยความร่วมมือกันของบริษัท Intel กับบริษัทอื่น ๆ โดยมีความเร็วการทำงานสูงสุด 2.7 MB/s และต้องมีวงจรช่วยการทำงาน • Extended Capability Port (ECP) เป็นพอร์ตขนานที่พัฒนาโดยไมโครซอฟท์กับ HP สำหรับการส่งข้อมูลครั้งละมาก ๆ โดยสามารถทำ DMA ได้ และยังมีการเข้ารหัสแบบ RLE (Run Length Encoding) ได้อีกด้วย
PCMCIA • เป็น PC-card ที่ใช้ต่อกับโน๊ตบุ๊ค ย่อมาจาก Personal Computer Memory Card International Association บางรุ่นอาจมีขนาดความหนาของสล๊อตไม่เท่ากัน เรียกว่า PCMCIA Type I,Type II และ Type III โดย Type I บางที่สุด • เป็นอุปกรณ์แบบ Hot Swap โดยออกแบบให้ขาสัญญาณยาวไม่เท่ากัน • การใช้งานอุปกรณ์ประเภทนี้ ซอฟต์แวร์จะต้องทำงานร่วมด้วยได้ • PCMCIA V 5.0 ได้เพิ่มคุณสมบัติ Multifunction PC-card, Multivoltage PC-card, DMA และ CardBus ให้รับส่งข้อมูลได้ครั้งละ 32 บิต
Universal Serial Bus (USB) • USB 1.1 • ทำงานแบบ PnP (Plug and Play) และมีคุณสมบัติเป็น hot plug หรือ hot swapping • มีความเร็วสองโหมดคือ 12 Mbps (full-speed) และ 1.5 Mbps(low-speed) • กินกระแสไม่เกิน 500 mA • ต่อพ่วงได้ 127 ชิ้น • USB 2.0 • เพิ่มการทำงานในโหมด High-speed โดยส่งข้อมูลได้ 480 Mbps (www.usb.org)
FireWire • เป็นมาตรฐานของการส่งข้อมูลแบบดิจิตอลระหว่างอุปกรณ์ที่ห่างกันไม่มาก มีชื่อเรียกเป็น IEEE-1394 แต่ทาง Sony เรียกว่า i.Link สามารถส่งข้อมูลได้สูงกว่า 400 Mbps • สามารถจ่ายไฟไปยังอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้หลายระดับ (8 - 40 V)
IrDA • เป็นการใช้แสงอินฟาเรดในการรับส่งข้อมูล เกิดขึ้นจากหลาย ๆ บริษัทมาพัฒนาร่วมกัน ชื่อเต็มคือ Infrared Data Association ซึ่งถือว่าเป็นการเชื่อมต่อระยะใกล้แบบไร้สายที่มีราคาถูก • Direct infrared รับส่งแบบจุดต่อจุด และตัวรับกับตัวส่งต้องอยู่แนวเดียวกัน • Diffues infrared เป็นการเชื่อมต่อแบบ many-to-many และไม่จำเป็นต้องอยู่ในแนวเดียวกัน • Radio frequency ใช้คลื่นวิทยุ
มาตรฐานของ IrDA • SIR (Serial Infrared) • IrDA 1.0 รับส่งข้อมูลได้ 2,400 bps ถึง 115.2 kbps • MIR (Medium Speed Infrared) • IrDA 1.1 รับส่งข้อมูลได้ 576 kbps และ 1.152 Mbps • FIR (Fast Infrared) • มีความเร็ว 4 Mbps • VFIR (Very Fast Infrared) • IrDA 1.3 ได้ความเร็วสูงสุด 16 Mbps
Bluetooth • เป็นการสื่อสารข้อมูลดิจิตอลที่ใช้สัญญาณวิทยุเป็นสื่อ เกิดจากการพัฒนาร่วมกันของ Ericsson,Nokia,IBM,Toshiba และ Intel • เชื่อมต่อได้ทั้งแบบ point-to-point และ point-to-multipoint • ใช้คลื่นวิทยุความถี่ 2.4GHz • อัตราการส่งข้อมูล 1 Mbps • มีการเข้ารหัสข้อมูล • สามารถสื่อสารได้สูงสุด 8 ตัวโดยใช้ช่องสัญญาณเดียวกัน เรียกว่า piconet www.bluetooth.com
ตารางเปรียบเทียบพอร์ตตารางเปรียบเทียบพอร์ต